อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ มีทักษะและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ มีคุณธรรมและจริยธรรม.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางการพัฒนางาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

ร่วมกันขับเคลื่อน ก้าวไปสู่เป้าหมายร่วมกัน วรรณดี จันทรศิริ ก้าวสู่อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 08/04/62 ร่วมกันขับเคลื่อน ก้าวไปสู่เป้าหมายร่วมกัน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

องค์ประกอบอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม การคลอดในวัยรุ่นลดลง ระบบการดูแลช่วยเหลือ แนวคิดการขับเคลื่อนอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม การคลอดในวัยรุ่นลดลง โรคติดต่อทางเพศลดลง ครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการดูแลช่วยเหลือ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน คุณภาพชีวิตของประชากร

พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม โรคติดต่อทางเพศลดลง สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข อปท. * มีการสอนเพศศึกษา รอบด้าน หรือหลักสูตรใกล้เคียง * จัดกิจกรรมการเรียนรู้ * มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน * ร.พ.ชุมชน มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน * ร.พ.สต. มีข้อมูล แผนงาน และกิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ * ร.พ. มีระบบการดูแล/ ส่งต่อการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น * มีแผนและดำเนินการ ตามแผน * สนับสนุนทรัพยากร * มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ * การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ชุมชน ครอบครัวได้รับการอบรมความรู้เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ผลลัพธ์ พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม โรคติดต่อทางเพศลดลง การคลอดในวัยรุ่นลดลง การครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการดูแลช่วยเหลือ

ประเมินตนเอง ตามเกณฑ์มาตรฐาน แนวทางการประเมิน ประเมินตนเอง ตามเกณฑ์มาตรฐาน คณะกรรมการระดับประเทศประเมินและพัฒนา คณะกรรมการระดับเขตประเมินและพัฒนา คณะกรรมการระดับจังหวัดประเมินและพัฒนา

การเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น การทำงานร่วมกัน มหาดไทย หน่วยงานระดับอำเภอ ท้องถิ่น สถานศึกษา สาธารณสุข ครอบครัว ส่งเสริมอนามัย การเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น

ระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) งบประมาณ ทรัพยากร ต่างๆ และ โครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น,ทีมสุขภาพเป็นสุข และ ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน การประเมินผล และ เรียนรู้ตามบริบท

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ( DHS) กระบวนการ ผลลัพธ์ ประเด็นสุขภาพ บันได 5 ขั้น

เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHSA : District Health System Appreciation) ความเป็นเอกภาพทีมระดับอำเภอ (Unity District Health Team) ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น (Appreciation) การพัฒนาโครงสร้าง จัดสรรทรัพยากร การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท (Knowledge, CBL, FM) การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential Health Care) การดูแลสุขภาพตนเอง และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Self Care &Community participation)

ขั้นที่ 1 ความเป็นเอกภาพทีมระดับอำเภอ (Unity District Health Team) 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือส่ง เข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้าน สุขภาพ

การพัฒนาโครงสร้างจัดสรรทรัพยากร การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท ขั้นที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างจัดสรรทรัพยากร การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐาน การบันทึก 2.2 ทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะ (Skill) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปัญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการ ดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้าน สุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ (Resource sharing)

การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential Health Care) ขั้นที่ 3 การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential Health Care) 3.1 มีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 3.2 ทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่ การปฏิบัติงานประจำ 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่ จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบ สุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม

ขั้นที่ 4 ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น (Appreciation) 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วม ตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น  

ขั้นที่ 5 การดูแลสุขภาพตนเอง และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Self Care &Community participation) 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อ วางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจ และจิตวิญญาณ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือสามารถเป็น แบบอย่างที่ดี 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้าน การจัดการสุขภาพ

การมีส่วนร่วมของภาคี ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศในวัยรุ่นและเยาวชน การมีส่วนร่วมของภาคี ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น ชะลอการมีเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การตั้งครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการช่วยเหลือ/ดูแล

ความเชื่อมโยงการดำเนินงานDRHกับDHS มหาดไทย หน่วยงานระดับอำเภอ ท้องถิ่น สถานศึกษา สาธารณสุข ครอบครัว รพ ท้องถิ่น สสอ ODOP RH

ขอบคุณค่ะ