อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ร่วมกันขับเคลื่อน ก้าวไปสู่เป้าหมายร่วมกัน วรรณดี จันทรศิริ ก้าวสู่อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 08/04/62 ร่วมกันขับเคลื่อน ก้าวไปสู่เป้าหมายร่วมกัน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
องค์ประกอบอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม การคลอดในวัยรุ่นลดลง ระบบการดูแลช่วยเหลือ แนวคิดการขับเคลื่อนอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม การคลอดในวัยรุ่นลดลง โรคติดต่อทางเพศลดลง ครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการดูแลช่วยเหลือ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน คุณภาพชีวิตของประชากร
พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม โรคติดต่อทางเพศลดลง สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข อปท. * มีการสอนเพศศึกษา รอบด้าน หรือหลักสูตรใกล้เคียง * จัดกิจกรรมการเรียนรู้ * มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน * ร.พ.ชุมชน มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน * ร.พ.สต. มีข้อมูล แผนงาน และกิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ * ร.พ. มีระบบการดูแล/ ส่งต่อการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น * มีแผนและดำเนินการ ตามแผน * สนับสนุนทรัพยากร * มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ * การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ชุมชน ครอบครัวได้รับการอบรมความรู้เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ผลลัพธ์ พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม โรคติดต่อทางเพศลดลง การคลอดในวัยรุ่นลดลง การครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการดูแลช่วยเหลือ
ประเมินตนเอง ตามเกณฑ์มาตรฐาน แนวทางการประเมิน ประเมินตนเอง ตามเกณฑ์มาตรฐาน คณะกรรมการระดับประเทศประเมินและพัฒนา คณะกรรมการระดับเขตประเมินและพัฒนา คณะกรรมการระดับจังหวัดประเมินและพัฒนา
การเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น การทำงานร่วมกัน มหาดไทย หน่วยงานระดับอำเภอ ท้องถิ่น สถานศึกษา สาธารณสุข ครอบครัว ส่งเสริมอนามัย การเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น
ระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) งบประมาณ ทรัพยากร ต่างๆ และ โครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น,ทีมสุขภาพเป็นสุข และ ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน การประเมินผล และ เรียนรู้ตามบริบท
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ( DHS) กระบวนการ ผลลัพธ์ ประเด็นสุขภาพ บันได 5 ขั้น
เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHSA : District Health System Appreciation) ความเป็นเอกภาพทีมระดับอำเภอ (Unity District Health Team) ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น (Appreciation) การพัฒนาโครงสร้าง จัดสรรทรัพยากร การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท (Knowledge, CBL, FM) การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential Health Care) การดูแลสุขภาพตนเอง และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Self Care &Community participation)
ขั้นที่ 1 ความเป็นเอกภาพทีมระดับอำเภอ (Unity District Health Team) 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือส่ง เข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้าน สุขภาพ
การพัฒนาโครงสร้างจัดสรรทรัพยากร การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท ขั้นที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างจัดสรรทรัพยากร การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐาน การบันทึก 2.2 ทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะ (Skill) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปัญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการ ดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้าน สุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ (Resource sharing)
การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential Health Care) ขั้นที่ 3 การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential Health Care) 3.1 มีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 3.2 ทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่ การปฏิบัติงานประจำ 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่ จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบ สุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม
ขั้นที่ 4 ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น (Appreciation) 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วม ตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ขั้นที่ 5 การดูแลสุขภาพตนเอง และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Self Care &Community participation) 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อ วางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจ และจิตวิญญาณ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือสามารถเป็น แบบอย่างที่ดี 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้าน การจัดการสุขภาพ
การมีส่วนร่วมของภาคี ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศในวัยรุ่นและเยาวชน การมีส่วนร่วมของภาคี ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น ชะลอการมีเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การตั้งครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการช่วยเหลือ/ดูแล
ความเชื่อมโยงการดำเนินงานDRHกับDHS มหาดไทย หน่วยงานระดับอำเภอ ท้องถิ่น สถานศึกษา สาธารณสุข ครอบครัว รพ ท้องถิ่น สสอ ODOP RH
ขอบคุณค่ะ