กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) กรอบอัตรากำลังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 225 เขต (สพป. 183, สพม. 42 ) อัตรากำลังเดิม ตำแหน่งเดิม จำนวน 13,079 ตำแหน่ง เพิ่มเติม ตำแหน่งใหม่ จำนวน 1,221 อัตรากำลังใหม่ รวม 14,300 กรอบอัตรากำลังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 225 เขต (สพป. 183, สพม. 42 ) ตำแหน่งว่างที่มีอัตราเงินเดือน จำนวน 11,211 ตำแหน่ง ตำแหน่งว่างที่ไม่มีอัตราเงินเดือน จำนวน 3,089
กำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการให้มีระดับสูงขึ้น การกำหนดกรอบอัตรากำลังฯ ทำให้มีตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษเพิ่มขึ้น ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 1,163 ตำแหน่ง แบ่งเป็น 1 นักประชาสัมพันธ์ 59 ตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว จะต้องดำเนินการขออนุมัติกำหนดตำแหน่ง โดยการประเมินค่างานตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดก่อน จึงสามารถดำเนินการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ 2 นักวิชาการเงินและบัญชี 69 3 นักวิชาการพัสดุ 225 4 นักทรัพยากรบุคคล 145 5 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 6 นักวิชาการศึกษา (กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา) 260 7 นักวิชาการศึกษา (กลุ่มเอกชน) 49 8 นักวิชาการตรวจสอบภายใน 131
การกำหนดตำแหน่งโดยการประเมินค่างาน สาระสำคัญ โดยยึดปริมาณงานและคุณภาพงานของตำแหน่ง ที่แสดงถึงลักษณะและหน้าที่ความรับผิดชอบที่เปลี่ยนแปลงไปในระดับสูงขึ้น เกณฑ์การตัดสินการกำหนดตำแหน่ง พิจารณาจากการประเมินค่างานที่ ก.ค.ศ. กำหนด ซึ่งการกำหนดตำแหน่ง ต้องยึดหลักประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและประหยัดโดยไม่เพิ่มจำนวนตำแหน่งและไม่ทำให้งบประมาณรายจ่ายด้านบุคคลเพิ่มสูงขึ้น
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1) หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.5/ว 17 ลงวันที่ 5 กันยายน 2556 เรื่อง การกำหนดกรอบอัตรากำลังบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) 2) หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนมาก ที่ ศธ 0206.5/43 ลงวันที่ 21 มกราคม 2557 เรื่อง ขอแจ้งแก้ไขกรอบอัตรากำลัง 3) หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.5/190 ลงวันที่ 2 เมษายน 2557 เรื่อง ขอเพิ่มเติมรายละเอียดเกี่ยวกับกรอบอัตรากำลัง 4) หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.5/ว 2 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินค่างาน สำหรับตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ 1) ตรวจสอบว่าเลขที่ตำแหน่งที่ขอปรับระดับตำแหน่งให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษนั้น เป็นไปตามกรอบอัตรากำลังที่ ก.ค.ศ. กำหนด หรือไม่อย่างไร
ขั้นตอนการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ ให้เป็นไปตาม หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.5/ว 17 ลงวันที่ 5 กันยายน 2556 เรื่อง การกำหนดกรอบอัตรากำลังบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ขั้นตอนการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ 2) ตรวจสอบว่าปริมาณงานและคุณภาพของงานเปลี่ยนแปลงไปในระดับที่สูงขึ้น หรือไม่อย่างไรของตำแหน่งที่ขอปรับระดับตำแหน่ง
คุณภาพงานที่เปลี่ยนแปลงไป
ขั้นตอนการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ 3) จะต้องดำเนินการประเมินค่างานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.5/ว 2 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 และที่ต้องนำเสนอ กศจ. เพื่อขอความเห็นชอบในการปรับระดับตำแหน่งและเพื่อขออนุมัติปรับระดับตำแหน่งดังกล่าวให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษ
ผู้ดำเนินการ: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ผังการประเมินค่างาน
องค์ประกอบคณะทำงานจัดทำข้อมูลรายตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล เป็นประธาน 2. ข้าราชการในกลุ่มงานที่จะขอประเมินค่างานของ ตำแหน่ง 1 คน ต่อ 1 ตำแหน่ง เป็นกรรมการ 3. ข้าราชการในกลุ่มบริหารงานบุคคล 1 คน เป็นกรรมการและเลขานุการ
องค์ประกอบคณะกรรมการประเมินค่างาน (เดิม) 1. ผู้ทรงคุณวุฒิใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษามอบหมาย เป็นประธาน 2. ผู้แทน ก.ค.ศ. ใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา เป็นกรรมการ 3. รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานบุคคล 1 คน เป็นกรรมการ กรณีไม่มีรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบกลุ่มบริหารงานบุคคล ให้ตั้งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามอบหมายแทน ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล เป็นเลขานุการ
องค์ประกอบการประเมินค่างาน กำหนดไว้ 4 ด้าน คะแนนรวม 100 คะแนน ดังนี้ หน้าที่และความรับผิดชอบ (30 คะแนน) ความยุ่งยากของงาน (30 คะแนน) การกำกับตรวจสอบ (20 คะแนน) การตัดสินใจ (20 คะแนน) เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องมีผลการประเมินของกรรมการ แต่ละคน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม
ขั้นตอนการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรณีที่ กศจ. มีมติอนุมัติให้ปรับระดับตำแหน่งให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษ ให้ออกคำสั่งปรับระดับตำแหน่งให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษ ตามรูปแบบคำสั่งตามเอกสารหมายเลข 7 แล้วส่งให้สำนักงาน ก.ค.ศ. ทราบภายใน 7 วัน พร้อมด้วยเอกสาร ดังนี้ 1) บัญชีรายละเอียดกรอบอัตรากำลังตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ตามเอกสารหมายเลข 3 2) แบบสรุปผลการประเมินค่างานของคณะกรรมการ ตามเอกสารหมายเลข 5 3) แบบรายงานผลการพิจารณาของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ตามเอกสารหมายเลข 6 4) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินค่างานตำแหน่งตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด 5) รายงานการประชุม อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ในการเห็นชอบตำแหน่ง ที่เสนอขอประเมินค่างาน 6) รายงานการประชุม อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา อนุมัติการปรับระดับตำแหน่งประเภทวิชาการ ให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษ
ตำแหน่งที่เสนอขอแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด จะเสนอขอประเมินค่างานใหม่ได้ เมื่อปรากฏว่ามี ปริมาณงาน คุณภาพงาน และความยุ่งยากในงานของ ตำแหน่งนั้นสูงขึ้นอย่างชัดเจน และมีเหตุผลที่สมควร ปรับระดับตำแหน่งให้เป็นระดับชำนาญการพิเศษ ทั้งนี้ ต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี นับจากวันที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามีมติไม่อนุมัติ