บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
ตัวชี้วัดกรมส่งเสริมการเกษตร เรื่อง การพัฒนาอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน(อกม
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556 ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สำนักพัฒนาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี จัดทำโดย กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการเผยแพร่
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
 อำเภอ  จังหวัด  เขต / สลคช.  กรม / หน่วยงานภาคี  วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย  สถาบันการศึกษา  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บุคคลทั่วไป.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี Lopburi provincial cooperative office สรุปภาพรวมผลการใช้ จ่ายเงิน งบประมาณปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2555.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
งานประชาสัมพันธ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี ฉบับที่ 193 ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 การประชุมปิดภาคการศึกษา 2/2557 ผศ. ดร. สิริแข พงษสวัสดิ์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการอบรมเชิง.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
มาตรฐานงาน ชุมชน ( มชช.) ประเภท “ ผู้นำ ชุมชน ”. ร. ต. วิฑูร พึ่งพงษ์ ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนตำบลแสง อรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2557 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 5 บทสรุป วิชาการสร้างเสริมประสิทธิภาพงานส่งเสริมการเกษตร
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ นายเชิงชาย เรือนคำปา เกษตรอำเภอเมืองจังหวัดสุโขทัย

ตอนที่ 4.2 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเกษตรอำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

เรื่องที่ 4.2.1 กรณีตัวอย่าง : การบริหารงานตามระบบ T&V System สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

ประวัติการทำงาน เริ่มรับราชการ วันที่ 13 มิถุนายน 2529 ตำแหน่ง เจ้าพนักงานการเกษตร 2 สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ตำแหน่งปัจจุบัน เกษตรอำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

ประวัติการศึกษา ปริญญาโท ศิลปศาตรมหาบัณฑิต ปริญญาโท ศิลปศาตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงแสน จ.กำแพงเพชร ปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

ความภาคภูมิใจ ปี 2557 Smart Office ต้นแบบ สำนักงานเกษตรอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2549 ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ดีเด่นระดับจังหวัด ปี 2532, 2549 เกษตรตำบลดีเด่น จังหวัดกำแพงเพชร

ส่งเสริมการพัฒนาเกษตรกรให้มีความมั่นคง 4. การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรตามระบบ T&V System ของสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสุโขทัย วิสัยทัศน์ ส่งเสริมการพัฒนาเกษตรกรให้มีความมั่นคง ยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร องค์กรเกษตรกรและกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ให้มีความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2) ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการผลิตและจัดการสินค้าเกษตรมีคุณภาพมาตรฐานและเหมาะสมกับความต้องการของตลาด 3) ให้บริการช่วยเหลือเกษตรกรแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรแก่เกษตรกรให้ความร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานภาคีทุกภาคส่วนเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานด้านการเกษตร

การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรมี 5 องค์ประกอบหลัก 1. การถ่ายทอดความรู้ (Training) 2. การเยี่ยมเยียน (Visiting) 3. การสนับสนุน (Supporting) 4. การนิเทศงาน (Supervision) 5. การจัดการข้อมูล (Data Management)

การถ่ายทอดความรู้ (Training) 1.1 พัฒนาเจ้าหน้าที่ เช่น อบรม สัมมนา 1.2 การสอนงาน (Coaching) พี่สอนน้อง น้องสอนพี่ 1.3 ค้นหาความถนัด รอบรู้ เชี่ยวชาญ

2. การเยี่ยมเยียน (Visiting) มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ 2.1 แผนเยี่ยม 2.2 ตารางเยี่ยมเกษตรกร

จะต้องประกอบด้วยข้อมูลสนับสนุนแผนเยี่ยม คือ 2.1 แผนเยี่ยม จะต้องประกอบด้วยข้อมูลสนับสนุนแผนเยี่ยม คือ 1. ข้อมูลประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน (MM) 2. ข้อมูลประชุมหัวหน้าส่วนระดับอำเภอ

2.2 ตารางเยี่ยมเกษตรกร วันจันทร์ : ประชุมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมระดับอำเภอ วันจันทร์ : ประชุมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมระดับอำเภอ วันอังคาร : เยี่ยมโครงการเน้นหนักของกรมฯ วันพุธ : เยี่ยมโครงการงบประมาณของกรมฯ/ จังหวัด วันพฤหัส : เยี่ยมโครงการเน้นหนักของกระทรวงฯ วันศุกร์ : สรุปผลการปฏิบัติงานและเป็นวันสำรองการทำงาน

3. การสนับสนุน (Supporting) - เจ้าภาพหลักรับผิดชอบ (โครงการ/ งาน/ กิจกรรม) - บูรณาการคน (ทีม + เจ้าของพื้นที่) - ร่วมแนะนำ + แก้ไข

4. การนิเทศงาน (Supervision) - เกษตรอำเภอ (หัวหน้าทีม) + เจ้าหน้าที่อาวุโส - แบบบันทึก 1 และ 2

แบบบันทึก 1 (การมอบหมายงาน/โครงการ/กิจกรรมให้ผู้รับผิดชอบ) แบบบันทึก 1 (การมอบหมายงาน/โครงการ/กิจกรรมให้ผู้รับผิดชอบ) การมอบหมายงาน/โครงการ/กิจกรรมให้ผู้รับผิดชอบ ชื่อ.................................ตำแหน่ง.........................................................

แบบบันทึก 2 (การบันทึกข้อความแผนการดำเนินโครงการของเจ้าหน้าที่รับผิดชอบหรือเจ้าภาพ)

5. การจัดการข้อมูล (Data Management) มีระบบการจัดการข้อมูล 2 ระบบย่อย 5.1 ข้อมูลสารสนเทศในระบบส่งเสริมการเกษตร เช่น ทบก. การผลิตพืช ระบบแผนที่ ฯลฯ 5.2 การจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกร เช่น แผนพัฒนาระดับอำเภอ ระดับตำบล แผนพัฒนาเกษตรกรรายบุคคล/ กลุ่ม

สรุป การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรระบบ T&V System ของอำเภอเมืองสุโขทัย มีเป้าหมายงาน 2 ประเด็น 1. งานตามนโยบายของกระทรวงฯ 2. งานตามภารกิจของกรมฯ