กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
Advertisements

การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
Website กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ hia.anamai.moph.go.th QR code
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 1.10 :ร้อยละของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (76 จังหวัด) ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน วิธีการประเมินผล 1. ศูนย์อนามัยประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ (ตามแบบฟอร์มการรายงานที่กำหนด) และส่งรายงานภาพรวมของเขต ให้กรมอนามัย รายไตรมาส 2. กรมอนามัย โดยกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทำการวิเคราะห์ ประเมินผลจากการนำเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) (ตามแบบประเมินตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ) สรุปผล และจัดทำสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะต่อการพัฒนางาน วิธีการจัดเก็บข้อมูล ศูนย์อนามัยสำรวจและรวบรวมข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และบันทึกฐานข้อมูลผ่านระบบNEHIS และเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์อนามัยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการดำเนินงานฯ ภาพรวมของเขต และจัดส่งข้อมูล ให้ส่วนกลาง รายไตรมาส แหล่งข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สูตรคำนวณ A=จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม*100/ B=จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด

กรอบแนวคิดการดำเนินงาน

เกณฑ์การประเมิน : สำหรับหน่วยงานส่วนกลาง สายอนามัยสิ่งแวดล้อม 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) - ทบทวนข้อมูลสถานการณ์การดำเนินงานฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม - ทบทวน/แก้ไขแบบสำรวจข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับสนับสนุนการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานบริการ ติดตาม ประเมินผล และมีผลการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม   ปรับปรุงข้อมูลในระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) ให้สอดคล้องกับความต้องการ มีการถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้เกี่ยวข้อง (ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และแนวทางการเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม) ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีแผนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 90 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 60 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การประเมิน : สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1-12 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) มีแผนการดำเนินงาน และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้เกี่ยวข้อง ติดตาม ประเมินผล และมีผล การดำเนินงานระบบฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการทบทวน คัดเลือกประเด็นปัญหาสำคัญเพื่อการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ มีการถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการประชุม/อบรม/ให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง ในเรื่องการใช้งานระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และแนวทางการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำรวจและรวบรวมข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และนำเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และดำเนินการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามประเด็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ที่คัดเลือกไว้ ร้อยละ 90 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 60 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม