ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการทำงานตามระบบการส่งเสริมมิติใหม่ (MRCF)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุทิศตน พัฒนาคน สร้างชุมชนอย่างยั่งยืน
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556 ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
นายพิเชษฐ์ ปาณะ พงศ์ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายคเชนทร์ชิต เมี้ยนละม้าย หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุเพ็ญ หวัง ธรรมมั่ง หัวหน้าฝ่าย บริหารงานทั่วไป.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการทำงานตามระบบการส่งเสริมมิติใหม่ (MRCF) สำนักงานเกษตรอำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง

ผู้บริหารจัดการในพื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง นักส่งเสริมการเกษตร M Mapping R Remote Sensing C Community Paticipation F Spacific Field Service คน พื้นที่ สินค้า MRCF

บุคลากรสังกัดสำนักงานเกษตรอ.เสริมงาม นางแสงวร ด้วงเขียว เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน นายถนอมศักดิ์ ชัยยาคำ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นางเยาวเรศ ทิฐธรรม เกษตรอำเภอ น.ส.พิมพากร ลูกอินทร์ เจ้าพนักงานธุรการ นายประสาน พิอุทัย นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นายไมตรี วุฒิการณ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นายพงษ์ศักดิ์ แดงปง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นางบุญมา จอมใจ คนงาน

ข้อมูลทั่วไปอำเภอเสริมงาม ที่ตั้งและอาณาเขต อำเภอเสริมงามตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอแม่ทา (จังหวัดลำพูน) และอำเภอห้างฉัตร ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอห้างฉัตร และ อำเภอเกาะคา ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอสบปราบ อำเภอเถิน และอำเภอทุ่งหัวช้าง (จังหวัดลำพูน) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอทุ่งหัวช้าง (จังหวัดลำพูน)

การแบ่งเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบต. ตำบลเสริมขวา อบต. ตำบลเสริมกลาง เทศบาล ทุ่งงาม เทศบาล ตำบลเสริมซ้าย เทศบาล เสริมงาม

การแบ่งเขตการปกครองอำเภอเสริมงาม ตำบลเสริมขวา12 หมู่บ้าน ตำบลเสริมกลาง 9 หมู่บ้าน 7. ตำบลป่าไผ่ มี 17 หมู่บ้าน ตำบลเสริมซ้าย 10 หมู่บ้าน

ลักษณะภูมิประเทศ ประชากร 32,386 คน (ข้อมูล พ.ศ. 2553) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาร้อยละ 50 พื้นที่ดินภูเขา ร้อยละ 15 ส่วนใหญ่อยู่ในเขตตำบลเสริมขวา ทางตอนเหนือของอำเภอ กลุ่มดินตื้นประมาณร้อยละ 23 อยู่ทางทิศตะวันออก และ กลุ่มดินนาร้อยละ 7 อยู่บริเวณตอนกลางของอำเภอ ประชากร 32,386 คน (ข้อมูล พ.ศ. 2553) ความหนาแน่น 51.26 คน/ตร.กม

สภาพพื้นที่ อำเภอเสริมงาม มีเนื้อที่ 631,727 ตร.กม. หรือ 395,748 ไร่ แบ่งเป็น พื้นที่การเกษตร 57,877 ไร่ พื้นที่ป่า 276,018 ไร่ พื้นที่สาธารณประโยชน์ 986 ไร่ พื้นที่อื่นๆ 60,867 ไร่

สำนักงานเกษตรอำเภอเสริมงาม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 บ้านมั่ว ตำบลทุ่งงาม อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง

บุคลากรสังกัดสำนักงานเกษตรอ.เสริมงาม นางแสงวร ด้วงเขียว เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน นายถนอมศักดิ์ ชัยยาคำ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นางเยาวเรศ ทิฐธรรม เกษตรอำเภอ น.ส.พิมพากร ลูกอินทร์ เจ้าพนักงานธุรการ นายไมตรี วุฒิการณ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นายพงษ์ศักดิ์ แดงปง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นายประสาน พิอุทัย นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ นางบุญมา จอมใจ คนงาน

ส่งเสริมผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย ใส่ใจข่าวสาร วิสัยทัศน์ ส่งเสริมผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย ใส่ใจข่าวสาร ศูนย์บริการฯเป็นหลัก อาสาสมัครฯขับเคลื่อน วิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งเกษตรกรพี่งพาตนเองได้ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1.ส่งเสริมและพัฒนาความรู้เกษตรกรในการผลิตพืชปลอดภัย 2.พัฒนาอาสาสมัครเกษตร ให้เป็นแกนนำในการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ 3.ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และเกษตรกรให้พึ่งพาตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อมูลพืชเศรษฐกิจอำเภอเสริมงาม ข้าว ตำบลเสริมซ้าย 9,413.25 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 8,013.25 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 6,738.75 ไร่ เสริมขวา 5,156.75 ไร่ รวม 29,322 ไร่

ถั่วลิสง ตำบลเสริมขวา 5,264 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 5,264 ไร่ ตำบลเสริมขวา 5,264 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 5,264 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 686 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 350 ไร่ รวม 10,536 ไร่

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ตำบลเสริมซ้าย 2,293.50 ไร่ ตำบลเสริมขวา 349 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 2,293.50 ไร่ ตำบลเสริมขวา 349 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 216.50 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 10.75 ไร่ รวม 2,839.75 ไร่

ลำไย ตำบลเสริมขวา 1,210 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 1,080 ไร่ ตำบลเสริมขวา 1,210 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 1,080 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 451 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 359 ไร่ รวม 3,100 ไร่

ยางพารา ตำบลเสริมซ้าย 561 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 409 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 561 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 409 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 339 ไร่ ตำบลเสริมขวา 316 ไร่ รวม 1,625 ไร่

พืชผัก ตำบลเสริมซ้าย 412 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 139 ไร่ ตำบลเสริมขวา 25 ไร่ ตำบลเสริมซ้าย 412 ไร่ ตำบลเสริมกลาง 139 ไร่ ตำบลเสริมขวา 25 ไร่ ตำบลทุ่งงาม 20 ไร่ รวม 595 ไร่

กลุ่มและสถาบันเกษตรกร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 42 กลุ่ม กลุ่มยุวเกษตรกร 4 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพ 42 กลุ่ม กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 98 กลุ่ม

กิจกรรมดีเด่นของอำเภอเสริมงาม

โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านแม่ต๋ำตามพระราชดำริ ศูนย์ศิลปาชีพแม่ต๋ำ ตำบลเสริมซ้าย อำเภอเสริมงาม

วิสาหกิจชุมชน กลุ่มหมอนผาบ้านนาเอี้ยง ต.เสริมกลาง ที่ตั้ง เลขที่ 216 หมู่ที่ 7 บ้านนาเอี้ยง ตำบลเสริมกลาง จำนวนสมาชิก 20 คน สินค้าที่ผลิตผลิตภัณฑ์จากนุ่นและผ้าฝ้ายทอมือ ประธานกลุ่ม นายสมคิด ไฝแก้ว โทร.081-3869114

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนแก้จนคนเสริมงาม ตำบลทุ่งงาม ที่ตั้งหมู่ที่1ตำบลทุ่งงาม ชื่อวิทยากรเกษตรกร นายก้องภพ อินทร์ต๊ะจักร กิจกรรมในแปลง -ปลูกยางพารา จำนวน 40 ไร่ -ปลูกถั่วลิสงและพืชผักแซมยางพารา -ปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ -ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภาพในแปลง จุดเด่น เป็นแปลงเรียนรู้และแปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลทุ่งงาม อำเภอเสริมงาม

แหล่งเรียนรู้การปลูกยางพารา ตำบลเสริมขวา แหล่งเรียนรู้การปลูกยางพารา ตำบลเสริมขวา ที่ตั้ง หมู่ที่ 12 ตำบลเสริมขวา ชื่อเกษตรกร นาย.บุญส่ง หนูภักดี อายุ 60 ปี พื้นที่ปลูก จำนวน 35 ไร่ อายุยางพารา 6-15 ปี จุดเด่น เป็นแปลงเรียนรู้และแปลงสาธิตการปลูก,การกรีดยางพาราในพื้นที่ ตำบลเสริมขวาและในอำเภอเสริมงาม

ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน ตำบลเสริมขวาอำเภอเสริมงาม วิทยากรเกษตรกร นายปุ๊ด ผัดหล้า ที่ตั้งเลขที่ 74 หมู่ที่ 7 ต.เสริมขวา อ.เสริมงาม จ.ลำปาง จุดเด่น เป็นแหล่งเรียนรู้การใช้สารชีวภาพในการเกษตร เช่น ผลิตปุ๋ยน้ำชีวภาพ และสารขับไล่แมลง ผลิตและขยายเชื้อราบิวเวอร์เรียและเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า

โครงการที่ดำเนินการในปี 2554 จากกรมส่งเสริมการเกษตร 1.โครงการส่งเสริมและผลิตพืชปลอดภัย (GAP)ลำไย 4 ตำบล 80 ราย 2.โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านแม่ต๋ำ ต.เสริมซ้าย 30 ราย/1 ตำบล 3.โครงการพัฒนาองค์กรเกษตรกร - ประชุมคณะกรรมการส่งเสริม วสช. 20 คน / 2 ครั้ง - เวทีชุมชน วสช. 10 คน / 2 ครั้ง - แปรรูปอาหารในกลุ่มแม่บ้าน 20 คน / 1 ครั้ง - อบรมอาสาสมัครเกษตร 74 คน / 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงานโครงการ โครงการส่งเสริมและผลิตพืชปลอดภัย (GAP)ลำไย 4 ตำบล 80 ราย ผลการดำเนินงาน -ฝึกอบรมเกษตรกร 4 ตำบล 80 ราย ศึกษาดูงาน ในพื้นที่ และจังหวัดใกล้เคียง บันทึกข้อมูล กสก. 04 ในระบบสาระสนเทศ 82 ราย ตรวจประเมินแปลงโดย กรมวิชาการ 60 ราย/4 ตำบล

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านแม่ต๋ำ ต.เสริมซ้าย 30 ราย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านแม่ต๋ำ ต.เสริมซ้าย 30 ราย -มอบวัสดุโครงการแก่เกษตรกร (เมล็ดพันธุ์ผัก,วัสดุเพาะเมล็ด,และเชื้อเห็ดนางฟ้า ) -ฝึกอบรมเกษตรกร 30 ราย - บันทึกข้อมูล กสก. 15 ในระบบสาระสนเทศ 30 ราย

โครงการพัฒนาองค์กรเกษตรกร - ประชุมคณะกรรมการส่งเสริม วสช. 20 คน / 2 ครั้ง ผลการดำเนินงาน -ได้รับการสนับสนุนโครงการจากหน่วยงานภาคี ดังนี้ กรมการพัฒนาชุมชน 8 กลุ่ม งบประมาณ 100,000 บาท (กองทุน,ฝีกอบรม,วัสดุ-อุปกรณ์การผลิต) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนงบประมาณ ตำบลเสริมซ้าย จำนวน 15 กลุ่ม งบประมาณ 220,000 บาท ตำบลเสริมกลาง จำนวน 6 กลุ่ม งบประมาณ 120,000 บาท ( 7 โครงการ) ตำบลเสริมขวา จำนวน 12 กลุ่ม งบประมาณ 280,000 บาท (10 โครงการ) ตำบลทุ่งงาม จำนวน 11 กลุ่ม งบประมาณ 250,000 บาท

- เวทีชุมชน วสช. 10 คน / 2 ครั้ง - เวทีชุมชน วสช. 10 คน / 2 ครั้ง ผลการดำเนินงาน วิเคราะห์การดำเนินงานกลุ่มโดยกระบวนการ SWOT สรุปผลการดำเนินงานส่งจังหวัด บันทึกข้อมูล กสก.28 ในระบบสาระสนเทศ 10 ราย จัดทำโครงการเสนอของบประมาณ จาก อบจ.จำนวน 183,000 บาท บันทึกผลการขอรับการสนับสนุนโครงการในระบบสาระสนเทศ 1 โครงการ

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปอาหารในกลุ่มแม่บ้าน 20 คน / 1 ครั้ง โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปอาหารในกลุ่มแม่บ้าน 20 คน / 1 ครั้ง ผลการดำเนินงาน ฝึกอบรมกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 1 วัน 20 คน ศึกษาดูงานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรอ.เกาะคา 1 วัน/20 คน สรุปผลการดำเนินงานส่ง จังหวัด บันทึก กสก.30 ลงในระบบสาระสนเทศ 20 ราย

โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 3 ตำบลเสริมขวา เกษตรกร 30 ราย ผลการดำเนินงาน 1.ฝึกอบรมเกษตรกร 2 ครั้ง 2.ศึกษาดูงาน 1 ครั้ง 3.บันทึกข้อมูล กสก.13 ลงในระบบสาระสนเทศ 30 ราย

การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด ปี 54/55 เป้าหมาย ปี 53 ผลงาน ปี 54 (ตัดยอด 17 ส.ค.54) ข้าว ข้าวโพด มันฯ ข้าว ข้าวโพด มันฯ ทุ่งงาม 1,223 3 1 835 6 4 เสริมขวา 1,267 58 - 1,220 49 - เสริมกลาง 1,336 48 1 92 9 20 1 เสริมซ้าย 1,502 415 13 1,150 356 18 รวม 5,328 524 15 4,134 431 23 ปัญหา-อุปสรรค 1. เกษตรกรบางรายไม่เห็นความสำคัญในการขึ้นทะเบียน เนื่องจาก ปีที่แล้วไม่ได้ รับค่าชดเชย และปีนี้ไม่ร่วมโครงการจำนำของรัฐ 2. ระบบการบันทึกข้อมูลช้า และล่มบ่อย

โครงการที่ได้รับสนับสนุนจาก อปท. และหน่วยงานอื่นๆ ในปี 2553/2554 โครงการ ส่งเสริมควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี จากกรมการปกครอง ปี 53 จำนวน 220 รายงบประมาณ 84,400 บาท(จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และฝึกอบรม,ฝึกปฏิบัติ) โดยศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดเชียงใหม่ ปี 54 ขอสนับสนุนต่อเนื่องและขายผล 4 ตำบล /42 หมู่บ้าน/420 ราย/งบฯ 118,820 บาท โครงการสนับสนุนสถาบันเกษตรกรจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 ตำบล ตำบลเสริมซ้าย จำนวน 15 กลุ่ม งบประมาณ 220,000 บาท ตำบลเสริมกลาง จำนวน 6 กลุ่ม งบประมาณ 120,000 บาท ( 7 โครงการ) ตำบลเสริมขวา จำนวน 12 กลุ่ม งบประมาณ 280,000 บาท (10 โครงการ) ตำบลทุ่งงาม จำนวน 11 กลุ่ม งบประมาณ 250,000 บาท

สวัสดี