ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
โดย...นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานสำคัญด้านโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 17/01/62 นโยบาย สถานการณ์ และการดำเนินงานอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560 โดย...ดร.นพ.ปรีชา เปรมปรี ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย ตามมาตรฐานสำหรับโรงพยาบาลชุมชน วันที่ 25-26 มกราคม 2560 ณ โรงแรมบางแสนเฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี วันพุธที่ 26 สิงหาคม 2558 เวลา 10.00 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล อาคาร 1 ชั้น 1 กรมควบคุมโรค

หัวข้อการนำเสนอ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข 2. สถานการณ์ปัญหา และการดำเนินงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่สำคัญปี 2560

นโยบายรัฐบาลในด้านสาธารณสุข การลดความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน

ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59 Mastery/ Expertise Integrity Service Mind Relationship Teamwork I SMART Achievement Motivation ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59

ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร 1. งานสาธารณสุขตามแนวระราชดำริ 5. ให้ความสําคัญในการพัฒนา กําลังคนด้านสาธารณสุข 6. วิจัยและพัฒนา เพื่อส่งเสริม ภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทย ให้มีคุณภาพครบวงจร 2. บูรณาการองค์ประกอบ และบทบาทเขตสุขภาพ 3.ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคให้ประชาชน ทุกกลุ่มวัย 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานสาธารณสุข 8. สนับสนุนกลไกการทํางานสาธารณสุขเพื่อสร้างความมั่นคงและความผาสุข สังคมไทย สังคมโลก 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับ

เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค. 59 เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค. 59 โรคติดต่อสำคัญ 1 โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 2 โรคพิษสุนัขบ้า ปี 63 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 3 โรคเรื้อน ปี 63 ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ ไม่เกิน 100 ราย 4 มาลาเรีย ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย 5 เอดส์ ปี 73 ยุติปัญหาเอดส์ : No เด็กคลอดมาติดเชื้อ & ผู้ใหญ่ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย 6 วัณโรค ปี 63  อุบัติการณ์วัณโรคลง 20% โรคไม่ติดต่อ 7 บาดเจ็บจากการจราจร ปี 63 ควบคุมอัตราตาย  50% จากปี 54 8 โรคไม่ติดต่อ ปี 68  ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลง 25% ควบคุมปัจจัยเสี่ยง แอลกอฮอล์ ปี 68  ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัว ปชก. ต่อปี ลง 10% 10 ยาสูบ ปี 68  การบริโภคยาสูบลง 30 % 11 ความดันโลหิตสูง ปี 68  ความชุกภาวะความดันโลหิตสูงลง 25 % 12 เบาหวาน ปี 68 ความชุกของเบาหวานและโรคอ้วน ไม่ให้เพิ่มขึ้น แผนการดำเนินงานในปี 60 กรมยังคงยึด เป้าหมายป้องกันควบคุมโรค เพื่อการลดโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ทั้งโรคติดต่อที่สำคัญ โรคไม่ติดต่อ การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรคประกอบอาชีพ โรคจากการประกอบอาชีพฯ 13 เกษตรกรรม ปี 63 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ไม่เกิน 9 : แสน ปชก.

วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานและวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เป็นหลักของประเทศ Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork

ระบบการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Infrastructure Non-communicable disease DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center Surveillance EOC Agriculture/ Industry Occupational Health Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Acute/Chronic Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Equipment/Laboratory HRP/HRD Information Technology International Training Center International Research Center แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560-2564 1 ) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การพัฒนาเชิงระบบ จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 2557-2561 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผลสัมฤทธิ์คุณภาพการป้องกันควบคุมโรค ตามระบบสุขภาพอำเภอ : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” (DHS/DC) แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ , จัดการข้อมูลเฝ้าระวังสอบสวนโรค , ป้องกันชุมชน สถานบริการสาธารณสุข ป้องกันและลดการตายจากการจราจรทางถนน ,ขับเคลื่อน Big City RTI , พัฒนาการสอบสวนและนำข้อมูลไปใช้ สร้างทีม Merit Maker และสื่อสารประชาสัมพันธ์ ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , ควบคุมโฆษณาและส่งเสริมการขาย , สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม ,มาตรการระดับชุมชน, คัดกรอง บำบัดรักษา โรคจากอาชีพ&สิ่งแวดล้อม จัดบริการอาชีวอนามัยแรงงานในชุมชน พัฒนาเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงการทำงานของแรงงานในชุมชนและนอกระบบ สนับสนุนสถานประกอบการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์ สนับสนุนสถานประกอบการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร เฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการฯ บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ซิกาเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย : คัดกรองCXR กลุ่ม HIV/DM ผู้ต้องขัง ต่างด้าว ผู้สูงอายุ รักษา กินยาครบ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ : RRTTR/ลดการตีตรา ป้องกันควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส: เข้าถึงการรักษา ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง โครงการพระราชดำริ Malaria ในโรงเรียน ตชด 196 รร. คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ โรคหนองพยาธิ ในพื้นที่ทุรกันดาร การพัฒนาเชิงระบบ บริหารแผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2564 (Mega project) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ : ควบคุมโรคในช่องทางเข้าออกประเทศ ด่านฯ จว.ชานแดน / SEZ / Travel Medicine แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ : พัฒนา EOC ให้เกิดประสิทธิภาพเชื่องโยงระดับเขตและจังหวัด แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ 2558 ให้เป็นรูปธรรมและเกิดประสิทธิภาพในระดับจังหวัดและอำเภอ บริหารจัดการงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม 10

นโยบายกรมควบคุมโรค ปี 2560 ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการตามพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ : หนอนพยาธิ, พยาธิใบไม้ตับ เร่งรัดดำเนินการให้ได้ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์บูรณาการชาติ กระทรวง และ กรม : กลุ่มวัย พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ดิจิทัล ขยะ & สิ่งแวดล้อม วิจัย ปราบปรามทุจริต บังคับใช้กฎหมาย ATM, EOC, SAT ดำเนินการเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยง ตามจุดเน้นแผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ และการพัฒนาเชิงระบบ ดำเนินการตามกรอบ 36 แผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ให้ได้ตามเป้าหมาย พัฒนาศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด เร่งรัดพัฒนารูปแบบการควบคุมโรคในเขตเมืองให้สามารถขยายผลทันสถานการณ์ปัญหาเมืองใหญ่ บูรณการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับระบบสุขภาพอำเภอในการลดโรคที่เป็นปัญหาสำคัญเชิงคุณภาพ ขับเคลื่อนพ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ให้การดำเนินงานเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพระดับจังหวัด & อำเภอ บริหารความเสี่ยงให้ Small Success 3, 6, 9, 12 เดือน บรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกรมฯ และหน่วยงาน เร่งรัดติดตามผลงานและการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายปี 2560 และมาตรการ เพิ่มประสิทธิภาพของรัฐบาล

Performance Agreement : PA กรมควบคุมโรค ไม่เกิน 14 ต่อแสนประชากร 6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 80 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 80 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ)  ร้อยละ 90 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย 1. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 3. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVDs) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 ไม่เกิน 14 ต่อแสนประชากร 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25

2. สถานการณ์ปัญหา และการดำเนินงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่สำคัญปี 2560

สถานการณ์โรคจากการประกอบอาชีพ โรคปอดฝุ่นหิน (Silicosis) โรคประสาทหูเสื่อมจากเสียง จำนวนผู้ป่วยโรคปอดฝุ่นหิน (Silicosis) (ราย) ปี 2010-2014 (พ.ศ 2553-2557) อัตราป่วยโรคประสาทหูเสื่อมจากเสียง ต่อ 100,000 คน จำแนกรายเพศ ปี 2014 (พ.ศ 2557) กลุ่มโรคที่เกิดจากแร่ใยหินแอสเบสตอส โรคกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงาน จำนวนผู้ป่วยกลุ่มโรคที่เกิดจากแร่ใยหินแอสเบสตอส ปี 2010-2014 (พ.ศ 2553-2557) อัตราป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงานต่อ 100,000 คน ปี 2013-2014 (พ.ศ 2556-2557) โรคฝุ่นจับปอดจากแร่ใยหินและเส้นใยแร่อื่น (J61) (ราย) แหล่งข้อมูล : กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม, ข้อมูล ณ วันที่ 1 มิ.ย. 59 14

พื้นที่ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ที่มา : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค ข้อมูล ณ วันที่ 5 ก.ย. 59 หมายเหตุ : พื้นที่ 36 จว. Hot Zone 15

นโยบาย/งาน สำคัญ โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมปี 2560 การขับเคลื่อนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้ก้าวทันการพัฒนา Safety Thailand 1 แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม 2 ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมป้องกันโรค จากการประกอบอาชีพสำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ 3 โครงการรณรงค์และประชาสัมพันธ์สุขภาพ ผู้ขับขี่รถโดยสารสาธารณะแท็กซี่ (Healthy Taxi) 4 การพัฒนาร่างพระราชบัญญัติ โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. …. 5 เตรียมการแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ปี 2561 6 16

1.การขับเคลื่อนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้ก้าวทันการพัฒนา Safety Thailand กระทรวงสาธารณสุข โครงการบูรณาการความร่วมมือ ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ระหว่าง 6 หน่วยงาน กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มิติที่ 1 การดำเนินงานด้านการสร้างการเรียนรู้ ความปลอดภัยในการทำงานก่อสร้าง การดำเนินงาน ระยะสั้น 3 ด้าน ขับเคลื่อน ความปลอดภัย ในการทำงาน 3 มิติ มิติที่ 2 การบังคับใช้ การป้องกันและระงับอัคคีภัย ในสถานประกอบกิจการ มิติที่ 3 การมีส่วนร่วมในรูปแบบประชารัฐ ความปลอดภัยในการทำงาน เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

2.แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital : กรมอนามัย/กรมควบคุมโรค PA ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 : สนับสนุน กรมอนามัย : บุรณาการเกณฑ์ ปี 2561 : บูรณาการงาน + เกณฑ์ กรมควบคุมโรค จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ร้อยละ 50 รพศ./รพท. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค 18

สถานการณ์ความเสี่ยง/โรค 3.ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพสำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ เกษตรกรกลุ่มอาชีพเพาะปลูก กลุ่มอุตสาหกรรมในครัวเรือน (แกะสลักหิน, ตัดเย็บผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า) กลุ่มคนเก็บและคัดแยกขยะ (ขยะทั่วไป,ขยะอิเล็กทรอนิกส์) ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ กลุ่มเป้าหมาย ขับเคลื่อนงานสู่พื้นที่ผ่านกลไกเขตสุขภาพ พัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพฯ ค้นหาพื้นที่ต้นแบบ ( Bright Spot) คัดกรองสุขภาพ สถานการณ์ความเสี่ยง/โรค ชี้เป้าพื้นที่ 19

คูปอง ชุดของขวัญสุขภาพดี แท็กซี่ไทย 4.โครงการรณรงค์และประชาสัมพันธ์สุขภาพผู้ขับขี่รถโดยสารสาธารณะแท็กซี่ (Healthy Taxi) คูปอง ชุดของขวัญสุขภาพดี แท็กซี่ไทย ชุดตรวจคัดกรองสุขภาพ ตรวจคัดกรองสุขภาพ โดยแบบสอบถาม ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง/ ดัชนีมวลกาย (BMI) วัดความดันโลหิต ตรวจสมรรถภาพ การมองเห็น เอ็กซเรย์ทรวงอก พร้อมอ่านฟิล์ม วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Flu 3 สายพันธุ์) พบแพทย์/ให้คำปรึกษา/แนะนำด้านสุขภาพ หน่วยบริการที่ร่วมดำเนินการ กรมควบคุมโรค - สถาบันราชประชาสมาสัย - สถาบันบำราศนราดูร - สำนักวัณโรค - สถาบันป้องกันควบคุม โรคเขตเมือง กรมการแพทย์ - โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี หน่วยบริการ ตรวจคัดกรองสุขภาพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานการณ์โรค และภัยสุขภาพ - ข้อมูลสุขภาพ - ข้อมูลการเจ็บป่วย รูปแบบการเฝ้าระวังโรคและ ภัยสุขภาพเชิงรุกโดยใช้ชุดสิทธิประโยชน์ ในการดูแลสุขภาพ ( โดย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ) เป้าหมาย ผู้ขับขี่รถโดยสารสาธารณะแท็กซี่ : ได้รับการตรวจสุขภาพ และ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ การป้องกันและส่งเสริม สุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง ปลอดโรคจากการประกอบ อาชีพและภัยสุขภาพ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ ขับรถแท็กซี่ ฯ ในพื้นที่กทม. และปริมณฑล 3,000 ราย หน่วยงานที่ร่วมดำเนินงาน กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมการขนส่งทางบก กระทรวงแรงงาน สำนักงานประกันสังคม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ กทม. Kick Off กรมควบคุมโรค วันที่ 26-27 ธ.ค. 2559 ระยะเวลาดำเนินการ : 20 ธ.ค. 2559 – 30 มี.ค.2560

5.การพัฒนาร่างพระราชบัญญัติโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. …. ยกร่าง โรคจาก- การประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. ... 1 ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา 9 สำนักนายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ 8 รับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน,ผู้เชี่ยวชาญในและต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ 2 นำเข้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 7 ร่าง พระราชบัญญัติโรคจาก- การประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. ... นำเสนอการประชุม ผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงสาธารณสุข เสนอต่อสำนักงานเลขาธิการรัฐมนตรี 6 3 Slide ที่ 6 ปรับหัวข้อให้ตรงกับ executive summary (แผนการดำเนินงานต่อไป) เสนอต่อรัฐบาล รัฐสภา/สภานิติบัญญัติแห่งชาติเห็นชอบโดยรองนายกรัฐมนตรี ให้เสนอเข้าคณะรัฐมนตรี เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 5 4

เป้าหมาย วัยแรงงาน 15-59 ปี 6.เตรียมแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ปี 2561 : การสร้างความมั่นคงในชีวิตให้แรงงาน เป้าหมาย ลดปัจจัยเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในวัยทำงาน ร้อยละ 40 ของวัยแรงงานที่ได้รับข้อมูลการดูแลเพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย ในหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับ วัยแรงงาน 15-59 ปี 54.2 ล้านคน การพัฒนากำลังคน การพัฒนาองค์ความรู้/ แนวทางการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ในระบบ 16.9 ล้านคน นอกระบบ 21.4 ล้านคน ประชากรที่มีงานทำ 38.3 ล้านคน การพัฒนาคัดกรองทางห้องปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย การพัฒนาศักยภาพ การตรวจบริการอาชีวอนามัย การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรค และภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ การศึกษาวิจัย การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและการสอบสวนโรค ประชากรที่ไม่มีงานทำ (ผู้ทำงานบ้าน, เรียนหนังสือ) 19.9 ล้านคน การติดตามประเมินผล การพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังฯ ที่มา : 1. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2. สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร, การสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2558 22

THANK YOU