แผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) จังหวัดราชบุรี ปี 2559
การจัดระบบส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดราชบุรี
สถิติการรับผู้ป่วย Refer โรงพยาบาลราชบุรี ( แยกตามจังหวัดในเขต 5 ทั้งหมด ) รวมทั้งหมด 67,661 ราย รวมทั้งหมด 15,439 ราย ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย. 58) ปีงบประมาณ 2559 (ต.ค.58-ธ.ค.58)
5 อันดับโรค Refer in กรณีฉุกเฉิน ( ในเขต 5 ทั้งหมดยกเว้น จ.ราชบุรี ) ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย. 58) ปีงบประมาณ 2559 (ต.ค.58-ธ.ค.58)
( ในเขต 5 ทั้งหมดยกเว้น จ.ราชบุรี ) 5 อันดับ รพ. Refer in ( ในเขต 5 ทั้งหมดยกเว้น จ.ราชบุรี ) ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย. 58) ปีงบประมาณ 2559 (ต.ค.58-ธ.ค.58)
ข้อมูล 5 ลำดับโรค Refer Back จังหวัดราชบุรี รายโรค 2558 2559 (3 ด.) Stroke 180 35 pneumonia 59 10 Malignant 40 37 Head injury 31 13 COPD 28 4
ศักยภาพโรงพยาบาลในจังหวัดราชบุรี CMI
Service Plan refer
Refer Thai refer program Refer back system Center of region 5 Excellent performance for Node (จอมบึง)
สาขาการส่งต่อ สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.ยังไม่มีข้อมูลแยกให้เห็นภาพการเป็นศูนย์ refer เขต กับ จังหวัด 2.ยังไม่ได้นำข้อมูลอัตราการครองเตียงที่รับ refer back 3.การส่งต่อออกนอกเขตยังมีปริมาณสูง 4.คิวการรักษายังไม่เป็นคิวเดียวทั้งเขต 5.ยังไม่มีโรงพยาบาล ระดับ M2 ด้าน อ จอมบึง สวนผึ้ง และ บ้านคา 1.จัดทำข้อมูลแยกการรับส่งต่อ ของจังหวัดและเขต 2.จัดทำข้อมูลอัตราการครองเตียงของโรงพยาบาลในเครือข่ายและพิจารณาวางแผนการส่งกลับ 3.พัฒนาเพิ่มศักยภาพโดยแก้ปัญหาระบบภายใน 4.พัฒนา ร.พ.จอมบึงขึ้นเป็น M2
Service Plan heart
Heart SK Open heart surgery Cardiac catheterization Warfarin clinic Heart failure clinic
สาขาหัวใจ สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.ยังมีร.พ.ที่ให้SK ไม่ได้ 2.ยังมีจำนวนการผ่าตัดหัวใจและสวน หัวใจ น้อยเมื่อเทียบเป็นศูนย์ระดับ 1 3.คิวผ่าตัดหัวใจยังอยู่ที่ 3 เดือน 4.ยังไม่สามารถทำprimary PCI นอกเวลา 5.อัตราการตาย STEMI ยังสูง 1.เพิ่มร.พ.ที่ให้ SK ที่ สร้าง cardio network consultant 2.บริหารจัดการระบบการใช้ห้องผ่าตัดใหม่ 3.จัดคิวผ่าตัดของเขต , VISA open heart 4.จัดเวรprimary PCI นอกเวลาอย่างน้อย 1 วัน 5.Dead case conference ผู้ป่วย STEMI ให้ SK ได้เพียง 2 รพท. และ 2 รพช. From 15 Death rate 22.5% Rerfer for primary PCI? In regular time or emergency
Service Plan cancer
Cancer Unit for chemotherapy Radiotherapy Palliative care Tumor registry program Waiting time for Sx at Pahol 20 d MKR 9 d
สาขามะเร็ง สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.ศักยภาพไม่พอรับการส่งต่อ : รังสีรักษา, ฝังแร่ 2.ระยะเวลาการรอคอยการรักษายังนาน 3.ปัญหา Cancer registry 4.ไม่สามารถดำเนินการ Pain clinic ได้ 5.ขาดแคลนงานวิจัย 6.ยังขาด fulltime cancer specialist 7.ยังไม่มีความครอบคลุมและการเชื่อมต่อจาก primary prevention, การรักษา และ stage shifting 1.เพิ่มเครื่องฉายแสง/เครื่องฝังแร่ 2.มีการคำนวณความคุ้มทุนของเครื่องฝังแร่ ก่อนลงทุน 3.คำนึงถึงความครอบคลุม vs ความยากในการให้บริการ 4.เพิ่มบุคลากรที่จำเป็น : นักฟิสิกส์ พยาบาล วิสัญญีแพทย์ด้านความเจ็บปวด เป็นต้น
Service Plan สาขาทารกแรกเกิด จังหวัดราชบุรี
Newborn Low transfer complication Referral guidelines NICU 1:500 Cooling system for birth asphyxia Pediatric surgery
สาขาทารกแรกเกิด สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.ยังส่งออกผู้ป่วยในเกินศักยภาพ : ภาวะ CHD ที่ต้องทำ Palliative shunt , ROP laser 2.อัตราการปฏิเสธการรับผู้ป่วยในเขตสูงกว่าเกณฑ์ (21 : เกณฑ์<10) 1.แผนเพิ่มศักยภาพการดูแลCHD ของเขต ใน 3 ปี 2.จัดระบบส่งต่อโดยความร่วมมือกับศิริราช 3. ขยายเตียง NICU มีปัญหาอัตรากำลังไม่เพียงพอ
Service Plan Trauma&emergency
Trauma Trauma prevention IS Death case review Door to operation time 60 min Rehabilitation Thai refer program
สาขาอุบัติเหตุ สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ ตัวชี้วัดยังไม่เป็นมาตฐานเดียวกัน Trauma fast tract ใน multiple trauma ยังไม่ชัดเจน ยังมีอัตราตายที่สูงกว่าเกณฑ์ ยังไม่มี trauma ward ความครอบคลุม ของการแพทย์ฉุกเฉิน 36.63 % การบูรณาการการลดอุบัติเหตุไม่สมบูรณ์ รวมถึงทัศนคติในการบูรณาการ ปรับตัวชี้วัดเป็นมาตฐานเดียวกัน จัดทำTrauma fast tract ให้ครอบคลุม จุดเสี่ยง, ร่วมมือกับฝ่ายปกครอง ตั้ง trauma ward เพิ่มเติมหน่วย FR และ mapping เข้าถึงฝ่ายปกครองมากขึ้น “บ้านไผ่ model”
Service Plan 5 สาขาหลัก
5 สาขาหลัก OB : cesareon section at M level hospital Med : stroke network,respiratory care Surg : appendectomy Ped : Sick newborn, consult system Ortho : consultation system NI pahol 5 MKR 6 sunkarach 2 SNB at Thongpaphum 4 Sunkarach 2
5 สาขาหลัก สภาพปัญหา/2 ข้อเสนอแนะ 1.Appenectomy, C/S, non displaced fracture ใน รพ. ระดับตั้งแต่ M2 ลงไป 2.ยังไม่มีกลุ่ม line consult ortho 3.อัตราการได้รับ rTPA 4.6 % 1.Model แยกแต่ละ รพท ให้รับ จาก รพศ vอย่างน้อย 50% ของcase 2.สนับสนุนการให้ รพ จอมบึงเป็น M2 3.ฝึกอบรมแพทย์เสริมทักษะ , line consultation 4.เก็บข้อมูลเพิ่มเติม 5.เพิ่ม รพช. ที่สามาถให้ rTPA 6.สร้างเครือข่ายอายุรแพทย์ประสาท เพิ่มศักยถาพ รพช.ให้สามารถดูแลได้ Still no stroke unit rTPA only at pahol and mkr
Service Plan Psychiatry
Psychiatry เครือข่ายจิตเวช และการปรึกษา Refer back กรอบบัญชียาจิตเวชใน รพช
สาขาจิตเวช สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.ขาดความชำนาญของแพทย์ในการดูแลใน รพช 1.เพิ่มเติมการอบรม และ จัด conference ร่วม รพช/รพท/รพศ ตัวอย่างที่ “ประจวบคีรีขันธ์”
SERVICE PLAN 2559 CHRONIC KIDNEY DISEASE
Kidney CKD clinic to 100 % CKD registry
สาขาไต สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.ศัลยแพทย์ทำ vascular access ยังไม่เพียงพอ (ปัจจุบันให้ CVT เป็นผู้ผ่าตัด) 2.การตรวจ Creatinine ยังไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 3.ยังไม่มี organ donation ในปีนี้ 1.ส่งศัลยแพทย์อบรมเพิ่มเติม 2.ส่งต่อ vascular access ในเขต 3.One Province One Lab 4.Lab set up 5.Organ donation campaign
Service Plan eye
สาขาจักษุ สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.การคัดกรอง DR ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย 2. การคัดกรอง cataract ยังไม่ได้ตามเป้าหมายโดยเฉพาะ อ เมือง 3.คิวการผ่าตัด cataract ยังยาวและขึ้นกับตัวแพทย์ 3..ยังไม่สามารถดูแลผู้ป่วย retinaได้ 1.จัด mobile fundus camera 2.จัดคิวผ่าตัดรวม 3. ประสานการส่งต่อภายในเขต และกรมการแพทย์
สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน รอบแรก 0ut come ผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18 18 20.09 Service 1.รพศ./รพท. ดำเนินการจัดบริการการแพทย์แผนไทย แบบครบวงจรที่มีการรักษาโรคทั่วไปและเฉพาะโรค ร้อยละ 80 80 100 2. รพศ./รพท./รพช.มีการให้บริการการแพทย์แผนไทยคู่ขนานแผนกผู้ป่วยนอก ร้อยละ 70 70 27.27
รพ.ราชบุรี อำเภอ ร้อยละ 1.บางแพ 32.05 2.ปากท่อ 28.34 3.ดำเนิน 26.12 4.จอมบึง 23.99 รพ.ราชบุรี จุดเด่น : -ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปี พ.ศ. 2558 ปัญหา/อุปสรรค : -ขาดการสนับสนุนด้านงานวิชาการและงานวิจัย -ขาดองค์ความรู้สำหรับเจ้าหน้าที่ในงานแพทย์แผนไทย
ศูนย์ธรรมชาติบำบัด รพ.โพธาราม เป้าประสงค์ - องค์รวมเทคนิคสุขภาพพึ่งพาตนเองแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธ แนวทางการพัฒนา - เกิดศูนย์การเรียนรู้ทางด้านการดูแลตนเองด้วยวิถีธรรมชาติ การพึ่งพาตนเองสำหรับประชาชน
รพช.เจ็ดเสมียน -โครงการเด่น โครงการพัฒนาการบริการคลินิกโรคเรื้อรังคุณภาพด้วยแนวทางแพทย์วิถีธรรม ปัญหาและอุปสรรค -เจ้าหน้าที่ขาดประสบการณ์และความมั่นใจในการปฏิบัติงาน
ระดับรพ.สต. รพ.สต.เฉลิมพระเกียรติ๖๐ พรรษานวมินทราชินี - มีโครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกเวชกรรมไทย - นวัตกรรมเด่น “ถุงหอมแก้หวัดในเด็ก” - โอกาสในการพัฒนา รพ.สต.เฉลิมพระเกียรติ๖๐พรรษา นวมินทราชินี มีศักยภาพในการพัฒนาให้มีคลินิกคู่ขนานได้
ปัญหาและโอกาสในการพัฒนา เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย เป็นแหล่งดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ขาดบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย ขาดการสนับสนุนด้านงานวิชาการและงานวิจัย
Service Plan ORAL Health
ตาราง 1 แสดงอัตราฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี และ 12 ปี (ร้อยละ) สาขา สุขภาพช่องปาก จ.ราชบุรี ตาราง 1 แสดงอัตราฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี และ 12 ปี (ร้อยละ) กลุ่มอายุ จังหวัด ราชบุรี เขต 5 ประเทศไทย ญี่ปุ่น สิงค โปร์ มาเล เซีย พม่า 3 ปี 67.3 51.4 51.7 25.0 25.5 - 12 ปี 53.3 45.6 52.3 32.4 29.4 41.5 26.6 อัตราฟันผุ เด็ก 3 ปี (ปี55-58) 67.7 , 68.7 , 64.3 , 67.3 อัตราฟันผุ เด็ก 12 ปี (ปี55-58) 61.7 , 55.4 , 48.3 , 53.3 อัตราฟันผุสูงสุด 3 ลำดับแรก กลุ่มเด็ก 3 ปี : บ้านโป่ง ดำเนินฯ ปากท่อ กลุ่มเด็ก 12 ปี : โพธาราม ดำเนินฯ เมือง เด็กอายุ 4 ขวบ มารับยาแก้ไอที่ รพสต.บ้านม่วง อ.บ้านโป่ง 11กพ59
ตาราง 2 แสดงจำนวนทันตาภิบาล(ทภ.) Dental unit ในหน่วยปฐมภูมิ อำเภอ รพสต./ศสม. ทั้งหมด มี ทภ. มี unit ไม่มี unit ไม่มี ทภ. มี unit ไม่มี ทภ. เมือง 25 5 - 15 2 ศสม. 2 ศสม. (ทพ) บ้านโป่ง 24 7 10 1 ศสม. 1 ศสม. (ทพ) โพธาราม 27 ดำเนินสะดวก 19 4 6 9 จอมบึง 14 3 8 ปากท่อ 18 บางแพ 2 วัดเพลง 1 สวนผึ้ง บ้านคา รวม จังหวัดราชบุรี 158 39 41 78 6 ศสม. 3 ศสม.
1) ชมรมคนรักฟันจังหวัดราชบุรี ก่อตั้งปี 2545 สาขา สุขภาพช่องปาก จ.ราชบุรี นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง 1) ชมรมคนรักฟันจังหวัดราชบุรี ก่อตั้งปี 2545 และขยายเป็นชมรมคนรักฟัน ทุกอำเภอ จัดกิจกรรมกระจายความรู้ดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและครอบครัว ได้รับรางวัล LION Oral Health Award รางวัลที่ 1 ปี 2555 2) อสม.เชี่ยวชาญ สาขาเฝ้าระวังทันตสุขภาพในชุมชน ประกวดระดับจังหวัด ตั้งแต่ปี56 และริเริ่มประกวดระดับเขต ปี58 ทภ.นัยนา (รพสต.หัวโพ อ.บางแพ) อ.บางแพ อบรมและฝึก อสม.2 คน/หมู่บ้าน ทุกหมู่บ้าน ช่วยฝึกผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก ทาฟลูออไรด์ ติดตามเด็กตามรายชื่อมาตามนัด 3 เดือน ทภ.เป็นพี่เลี้ยง และ อสม.ได้รับรางวัลระดับเขต
จ.ราชบุรี ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ 1.ทันตาภิบาลใน รพสต. (โดยเฉพาะที่เพิ่งจบมาเมื่อปี57) ให้บริการรักษา มากกว่าด้านส่งเสริมป้องกัน 2.หน่วยบริการในจังหวัดมีกิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ จำนวนมาก แต่ยังไม่ส่งผลลดฟันผุ อาจเนื่องจากไม่ตรงเป้า (ไม่ลดพฤติกรรมเสี่ยง) หรือ การดำเนินกิจกรรมไม่เข้มแข็ง ไม่ต่อเนื่อง ปี 56 ปี 58 เด็กเล็กดื่ม/ดูดนมหวาน 17.7 % 24.3 % เด็กเล็กได้แปรงฟันก่อนนอน 56.9 % 52.9 % เด็ก ป.6 แปรงฟันก่อนนอน 72.1 % 67.3 % ข้อเสนอแนะ - สสจ.และ OH manager เน้นให้ ทพ./ทภ.ที่ประจำหรือหมุนเวียนไป ปฏิบัติงานใน รพสต. ทำงานด้านส่งเสริมป้องกัน - สสจ. feedback ข้อมูลให้ CUP เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปี ระหว่างอำเภอ จัดกระบวนการให้ CUP ที่มีปัญหาคล้ายกัน วางแผนเลือกประเด็นสาเหตุ มากำหนดกลวิธีส่งเสริมป้องกันของ รพ. และ รพสต.ทุกแห่งในเครือข่าย และประสาน อสม.+ชมรมคนรักฟัน (เสริมจุดแข็ง) การวิเคราะห์ -ใช้รายงาน excel ให้ รพ.รวบรวมจากเครือข่าย สี่ง สสจ.ทุกเดือน (มีคณะกรรมการข้อมูล) ข้อมูลดึงจากโปรแกรม HIS -ข้อมูลบริการไหลเข้าสู่ระบบ HDC มากขึ้นเรื่อยๆ มีทีมงาน IT ที่เข้มแข็ง (ทั้งทันตบุคลากร และเจ้าหน้าที่ IT) มีที่ปรึกษา มีผู้ตรวจสอบข้อมูล -3 อำเภอ ผลสำรวจพบฟันผุเพิ่มขึ้นจากปี 57 เกินร้อยละ 15 ทำให้เกิดข้อสงสัยเรื่องความถูกต้องของข้อมูล เกณฑ์/วิธีการตรวจ -ทำงานบริการเยอะ งานกิจกรรมเยอะ แต่ไม่ลดโรค ถ้าข้อมูลสถานการณ์ถูก ก็แสดงว่าไม่ตรงเป้า (กิจกรรมส่งเสริมไม่ลดสาเหตุของโรค) ควรวิเคราะห์ว่าสอดคล้องกับสาเหตุของปัญหาในพี้นที่หรือไม่ มีความแตกต่างกันระหว่างอำเภออย่างไร (ในเชิงการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกัน ใช้ HDCประเมินได้ และเชิงพฤติกรรมที่เป็นสาเหตุ) ควรจัดลำดับความสำคัญและเลือกประเด็นสาเหตุขึ้นมาจัดการ เพื่อให้กิจกรรมมีทิศทางที่ชัดเจนมากขึ้น -การ feedback ข้อมูล จากจังหวัด ยังไม่มีประสิทธิภาพพอและไม่ชี้เป้าที่จะกระตุ้นการดำเนินงานของ CUP ส่วนใหญ่จะโชว์ benchmark เป็นตัวชี้วัด ไม่ได้นำสาเหตุของโรคมาเปรียบเทียบ ชวน CUP ทำเป็นมาตรการ (ตอนนี้เน้นฝึกแปรงฟัน hand-on / อ่อนหวาน) -จังหวัดมีข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ได้นำมาใช้หรือไม่? หรือควรต้องกระตุ้น CUP ให้มี action ในเรื่องใดเพิ่มเติม......เช่น...........(การดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อลดสาเหตุของโรค และเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์)
Thank you