การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระที่ 4.2 พิจารณาเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ทิศทางการดำเนินงานของศูนย์อนามัยที่ 6
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
โดย..นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การดำเนินงานต่อไป.
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน 13 ตุลาคม 2559

เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) การประชุมเชิงปฏิบัติการการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติและการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ 12-14 ตุลาคม 2559 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟ แอนด์ คันทรีคลับ ปทุมธานี

16 แผนงาน 48 โครงการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติและการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ 12-14 ตุลาคม 2559 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟ แอนด์ คันทรีคลับ ปทุมธานี

แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 (ด้านสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ที่ 1 Promotion & Prevention Excellence แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย ตัวชี้วัด 1. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2) อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 4) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 2. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 6) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน 8) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 9) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี 3. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยทำงาน 10) ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 11) ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ 4. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ 12) ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์

ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 (ด้านสาธารณสุข) แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 1.โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 28) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 29) จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) ตัวชี้วัด 13. โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพช่องปาก 51) ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการสุขภาพช่องปาก

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี Health Model เป็นต้นแบบสุขภาพ Ethics มีจริยธรรม Achievement มุ่งผลสัมฤทธิ์ Learning เรียนรู้ ร่วมกัน Trust เคารพและเชื่อมั่น Harmony เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน HEALTH ประชาชนสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายและเจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบอนามัยยั่งยืน (ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) 7

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี 12 เป้าประสงค์ (12 Goals) 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (4 Strategy Issues) 21 ตัวชี้วัด (21 KPIs) 9 Proxy Indicators

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล

DOH Strategic Implementation Process ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ การประเมินผล และปรับปรุง DOH Strategic Implementation Process

กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล หน่วยงาน (Division Scorecard) บุคคล (Individual Scorecard) เป้าประสงค์ของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่และภารกิจของหน่วยงานที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับ Cluster บทบาทหน้าที่และภารกิจในงานประจำของหน่วยงาน งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ เป้าประสงค์ระดับบุคคล บทบาทหน้าที่ของบุคคลที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่งานของบุคคล (Job Description) กลไกการถ่ายทอด 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) เป้าประสงค์ของ 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน บทบาทหน้าที่ของ Cluster และกลุ่มสนับสนุน ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับกรม กรมอนามัย (Department Scorecard) เป้าประสงค์ของกรม นโยบายระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม ภารกิจ และพันธกิจตามกฎหมาย จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง กรมกับกระทรวง ประเมินผลการปฏิบัติงาน จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง Cluster กับกรม จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง หน่วยงานกับ Cluster จัดทำใบมอบหมายงาน ระหว่างบุคคลกับ หน่วยงาน

เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย 1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน ไม่เกิน 20 17 15 เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 85 2.1 : เด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการทุกคนพบสงสัยล่าช้า ร้อยละ 20 - 2.2 ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 30

เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละ 51 54 57 ร้อยละ 63 (ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ช. 113 ซม. และ ญ. 112 ซม.) 3.1 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน - 4) ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ 50 52 56 58

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ 5) ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ (Caries free) และเด็กอายุ 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ ร้อยละ 66 68 70 72 ร้อยละ 74 (ส่วนสูงเฉลี่ยเด็กอายุ 12 ปี ช. 166 ซม. และ ญ. 159ซม.) 5.1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน - 5.2 ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปีฟันไม่ผุ (caries free) 52 6) ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ด้านการบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพ - เด็กวัยเรียนกินผักต่อมื้อตามเกณฑ์ - เด็กวัยเรียนสามารถแปรงฟันด้วยตนเองอย่างมีคุณภาพ - เด็กวัยเรียนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ ร้อยละ 45 ร้อยละ 50 55 65

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม 7) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ไม่เกิน 42 - 39 34 8) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปีต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี พันคน 1.4 1.3 1.0 9) ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 10 ร้อยละ 9.5 9.0 8.5 8.0 10) ร้อยละของวัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ -สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ช. 173 ซม. และ ญ. 160 ซม. สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ช. 175 ซม. และ ญ. 162 ซม.

เป้าประสงค์ : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี 11) ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 55 56 ร้อยละ 57 58 59 12) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ เหมาะสม - กิจกรรมทางกายเพียงพอต่อ สุขภาพ - นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอต่อ - ดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม - ร้อยละ 30 40

เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 13) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) - ไม่น้อยกว่า 67.5 ปี ไม่น้อยกว่า 69 ปี 13.1 ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50 13.2 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 14) ร้อยละของผู้สูงอายุ (60-74 ปี) มีฟันแท้อย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบ 43 44 45 46 47

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) 15) ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน - ของตำบล (7,255 ตำบล) ร้อยละ 100 ของตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพ ตามเกณฑ์ฯ แล้วเมื่อปี 2560-2562 มีนวัตกรรมชุมชนการจัดการ อวล.ชุมชน (7,255 ตำบล) 16) จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด มีฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและมีแผนปฏิบัติการรองรับการดำเนินงาน จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดมีการส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานเฝ้าระวังเพื่อลดผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมดำเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม 17) ร้อยละของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ ร้อยละ 50 ร้อยละ 55 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 18) ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95

เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) 19) จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 4 เรื่อง 8 เรื่อง 12 เรื่อง 16 เรื่อง 20 เรื่อง เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) 20) การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (สะสม) 4 หมวด (สะสม) 5 หมวด 6 หมวด ได้รับการรับรองตามระบบ PMQA ครบทุกหมวดจาก สำนักงาน ก.พ.ร. เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล 21) คะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. ร้อยละ 81 ร้อยละ 82 ร้อยละ 83 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85