Newborn นพ.สมศักดิ์ วันทนียวงค์ Service plan Newborn นพ.สมศักดิ์ วันทนียวงค์
Service plan 2557 ด้านการบริหารเครือข่าย แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อลดการส่งต่อ ต.ค.- ก.ย ช่วยสร้างความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือระหว่างกัน นิเทศการใช้ CPG การดูแล ทารก และให้ความรู้ทางวิชาการ ก.ค.- ก.ย Home visit กรณี preterm case <1,500 g มี.ค.- ก.ย ออกเยี่ยมร่วมรพสต. 11 ราย อัตราการรายงานผลการติดตามดูแลที่บ้าน 100%
ส่งเสริมศักยภาพเครือข่าย ร่วมออกเยี่ยมบ้านพร้อมทั้งให้คำแนะนำการดูแล ทารกที่บ้าน
Service plan 2557 ด้านการบริหารเครือข่าย แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน 2. พัฒนาระบบการส่งต่อให้มีประสิทธิภาพ ลดภาวะแทรกซ้อน Fast Track ในกลุ่มทารกที่มีภาวะวิกฤตที่ใส่ท่อหลอดลมคอและทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 1,500 กรัมทุกราย ต.ค.-ก.ย 57 ทารกที่มีภาวะวิกฤตและน้ำหนักน้อยได้รับการดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสมและทันการณ์ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างส่งต่อ (9 ด) = 14.28% (8/56)
Fast track
Service plan 2557 ด้านการบริหารเครือข่าย แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน 3. ส่งเสริมความเข้มแข็งของเครือข่าย เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืน KM facebook Line เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน เกิด resource sharing ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้อง เหมาะสมจากการปรึกษา รับคำแนะนำในทุกประเด็นของการดูแลทารก
พัฒนาการสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน FACEBOOK
Service plan 2557 ด้านการให้บริการ แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน 1. จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม เพื่อเตรียมความพร้อมของมารดาหรือผู้ดูแลทารก เพื่อลดอัตราการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำ และลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ต.ค.-ก.ย 57 ทารกน้ำหนัก <1,500 กรัม ปีงบประมาณนี้ (9ด) มีจำนวน 11 ราย ทุกรายได้รับการเตรียมความพร้อมตามแนวทางปฏิบัติ มารดาหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลทารกผ่านเกณฑ์ 100%
Service plan 2557 ด้านการให้บริการ แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน 2. พัฒนาระบบการดูแลทารกโดยใช้ EBP แนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่ายทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัว <1,500 กรัม ต.ค.-ก.ย 57 ศึกษาวิจัยผลการใช้แนวปฏิบัติ พบว่า ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลงและลดอัตราการกลับเข้ารับการรักษาในขวบปีแรกลงอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.033 ) ผลงาน EBP ได้รับรางวัล NQC จากสำนักการพยาบาล
Service plan 2557 ด้านการ ให้บริการ แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน 3. พัฒนาฐานข้อมูล สารสนเทศ โปรแกรมการติดตามดูแลทารก ต.ค.-ก.ย 56 เริ่มใช้โปรแกรมการติดตามดูแลทารกที่คลอดก่อนกำหนด ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทารกทั้งหมดรวมถึงผลการติดตามภาวะสุขภาพและพัฒนาการทารกภายหลังจำหน่าย
พัฒนาสารสนเทศ จัดทำนวตกรรม เป็น โปรแกรม ฐานข้อมูลทารก
Service plan 2557 ด้านการพัฒนาบุคลากร แผนการพัฒนา (โครงการ/กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน 1. ส่งพยาบาลอบรมเฉพาะทางและอบรมตาม Training need ก.ค.- ก.ย ผ่านการอบรมเฉพาะทาง 1 คนและอบรมตามTraining need 2. จัดวิชาการในการดูแลทารกร่วมไปกับการออกนิเทศ โดย กุมารแพทย์ ให้กับ รพช.และ รพสต.ในพื้นที่ ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากโครงการไม่ได้รับการอนุมัติ
Main Activity ที่สำคัญ Service plan 2558 Approach วิธี Approach ระดับบริการ Main Activity ที่สำคัญ รายโรคที่สำคัญ ระดับบริการที่ 3 ระดับ S -การดูแลตามมาตรฐาน -การตรวจหาความผิดปกติในทารกกลุ่มเสี่ยง (ROP,OAE) -มาตรฐานระบบการส่งต่อ -ทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม -CLD -BA
ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ Service plan 2558 ประเด็นปัญหา ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา ภาวะแทรกซ้อนระหว่างส่งต่อ สถิติการส่งต่อเข้ารับการรักษาเพิ่มขี้น อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะภาวะ hypothermia 1.Prevention ทั้งในส่วนของรพช.และรพท. 2. พัฒนาศักยภาพการดูแลทารกของรพช.ลดการส่งต่อ รพช.ใช้ถุงถั่วเขียวและถุงอุ่นในการส่งต่อทารก ระบบการเตรียมรับและส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ระบบการติดตามนิเทศและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ Service plan 2558 ประเด็นปัญหา ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา อัตราตายของทารกน้ำหนักตัวน้อย อัตราตายของทารกยังไม่ได้ตามเป้าหมายของเครือข่ายและของเขต 1.Prevention 1. ประสานงานฝากครรภ์เกี่ยวกับภาวะการณ์และเข้าร่วมกิจกรรมในการปัองกันและลดการคลอดก่อนกำหนด 2. รพช.ส่งต่อทารกในครรภ์ เมื่อมีภาวะเสี่ยงคลอดก่อนกำหนด
ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ Service plan 2558 ประเด็นปัญหา ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา อัตราตายของทารกน้ำหนักตัวน้อย อัตราตายของทารกยังไม่ได้ตามเป้าหมายของเครือข่ายและของเขต 2. treatment 1. พัฒนาความรู้และทักษะบุคลากรในการดูแลทารก 2. เครื่องมืออุปกรณ์ในการดูแลรักษาและติดตามสัญญาณชีพมีเพียงพอและพร้อมใช้ สถิติ 9 เดือน น้ำหนัก <1000 เป้า <50% ผล 50% น้ำหนัก <1500 เป้า <10% ผล 18.2%
ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ Service plan 2558 ประเด็นปัญหา ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา ศักยภาพรพ.ในเครือข่ายที่ยังไม่ได้ตามระดับบริการ การดูแลทารกที่เจ็บป่วยไม่รุนแรง ต้องการการดูแลรักษาที่ไม่ซับซ้อน เช่น ตัวเหลืองต้องon Phototherapy Prevention 2. Treatment 1.นิเทศให้ความรู้ตาม CPG 2. จัด Training Cause การดูแลและป้องกันให้กับรพช.
ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ Service plan 2558 ประเด็นปัญหา ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา ศักยภาพรพ.ในเครือข่ายที่ยังไม่ได้ตามระดับบริการ การดูแลต่อเนื่องในส่วนของทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัมเมื่อมีความพร้อมที่จะจำหน่ายกลับบ้าน D/C Planning Continuing Care Monitoring การปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการวางแผนจำหน่าย เยี่ยมบ้านร่วมกับ Train เครือข่ายในการติดตามดูแล
ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ Service plan 2558 ประเด็นปัญหา ขนาดของปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน มาตรการหลัก/ยุทธศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา NICU รวมอยู่กับ PICU ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐานของระดับ 3 อัตราการติดเชื้อในทารกแรกเกิดค่อนข้างสูง มาตรฐาน NICU/SNB ขยายบริการ แยก PICU ออกจาก NICU ขยายบริการ NICU เพิ่มอีก 2 เตียง ขยายบริการ SNB เพิ่มอีก 3 เตียง
Six (Plus) Building Block Newborn โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล 1.ระบบบริการ (Service Delivery) เพิ่มเตียง NICU 2 เตียง รวม 8 (เอา PICU ออก) เพิ่มเตียง SNB 3 เตียง (รวม 15) Discharge planning ในทารกน้ำหนัก<1500 กรัม ติดตามเยี่ยมหลังจำหน่ายออกจาก NICU พัฒนาการดูแลรักษาทารกที่ใช้ High Frequency Ventilator Update CPG, CNPG ปฏิบัติตาม CPG, CNPG ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการวางแผนจำหน่ายทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักน้อยในส่วนของ รพช. ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการวางแผนจำหน่ายทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักน้อยในส่วนของ รพสต. ระดับหน่วยบริการ
Six (Plus) Building Block Newborn โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล 2.กำลังคนด้านสุขภาพ(Workforce) อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด อบรมพยาบาลวิกฤตทารกแรกเกิด เพิ่มแพทย์ Neonatologist 3.ระบบข้อมูลข่าวสาร(Information Technology) พัฒนาระบบข้อมูลทารกแรกเกิด โปรแกรมฐานข้อมูลทารก พัฒนาสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฝ่าน Facebook, Line ระดับหน่วยบริการ
Six (Plus) Building Block Newborn โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล 4.เทคโนโลยีทางการแพทย์(Drug & Equipment) เพิ่มอุปกรณ์ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ เพื่อรองรับการขยายเตียง (Central Monitor, เครื่องตรวจคัดครองการได้ยิน เครื่องตรวจบิลิรูบินแบบ non invasive ) 5.ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ(Financing) งบประมาณรายจ่ายประจำปี ระดับหน่วยบริการ
Six (Plus) Building Block Newborn โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล 6.ภาวะผู้นำ/ธรรมาภิบาล(Good Governance) คณะกรรมการเครือข่ายทารกแรกเกิดจ.แพร่ ดำเนินการและติดตามความก้าวหน้า ดำเนินงานตามแผนงาน /รายงานความก้าวหน้า ดำเนินงานตามแผนงาน/รายงานความก้าวหน้า 6+.(Participation) ประสานเครือข่ายรพสต./ รพช.ในการวางแผนการดูแลร่วมกันและร่วมติดตามดูแลที่บ้าน ประสานเครือข่ายชุมชนร่วมช่วยเหลือแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาเฉพาะราย จัดทำคู่มือการดูแลทารกกลุ่มเสี่ยงภายหลังจำหน่ายที่บ้านให้รพสต. ร่วมวางแผนการดูแลที่รพ.ก่อนจำหน่าย ร่วมติดตามดูแลเยี่ยมบ้าน ระดับหน่วยบริการ