การขับเคลื่อนการทำงานเชิงรุกด้านสุขภาพสัตว์ ปีงบประมาณ 2561 ภารกิจและแนวทาง การขับเคลื่อนการทำงานเชิงรุกด้านสุขภาพสัตว์ ปีงบประมาณ 2561
ภารกิจและอำนาจหน้าที่ ๑. ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายที่สำคัญ จำนวน ๔ ฉบับ ได้แก่ ๑ ) พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒) พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. ๒๕๓๕ ๓) พระราชบัญญัติสถานพยาบาลสัตว์ พ.ศ. ๒๕๓๓ ๔) พระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒. ศึกษา และวิจัยเกี่ยวกับปัญหาทางสุขภาพสัตว์ทั่วไป โรคระบาดสัตว์ โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ทั้งในด้านการป้องกันโรค การควบคุมกำจัดโรค การบำบัดรักษาโรค และรวมทั้งพัฒนาระบบการจัดการด้านสุขภาพสัตว์
ภารกิจและอำนาจหน้าที่ ๓. เป็นศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศด้านระบาดวิทยาทาง สัตวแพทย์ของประเทศ ๔. ให้คำปรึกษา แนะนำ และอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับการสัตวแพทย์ เช่น การพัฒนาสุขภาพสัตว์ การควบคุมป้องกันโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรคสัตว์ และระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ ๕. ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสุขภาพสัตว์ กฎหมายหลัก กฎหมายรอง ๑. พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ.๒๕๕๘ ๒. พ.ร.บ.โรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ.๒๕๓๕ ๓. พ.ร.บ.สถานพยาบาลสัตว์ พ.ศ.๒๕๓๓ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๕๗ ๔. พ.ร.บ.ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ.๒๕๕๗ ๑. พ.ร.บ.วิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ.๒๕๔๕ ๒. พ.ร.บ.ยา พ.ศ. ๒๕๑๐ แก้ไขเพิ่มเติม... ๓. พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ แก้ไขเพิ่มเติม... ๔. พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒
การจัดโครงสร้างองค์กรของสำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ กลุ่มงานพัฒนา ระบบสุขภาพสัตว์ กลุ่มงานระบาดวิทยา ทางสัตวแพทย์ กลุ่มงานบำบัด โรคสัตว์ กลุ่มงานควบคุมป้องกันโรคสัตว์ปีก กลุ่มงานควบคุม ป้องกันโรคปศุสัตว์ กลุ่มงานควบคุม ป้องกันโรคสัตว์เลี้ยง สถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ
กลุ่มงานพัฒนาระบบสุขภาพสัตว์ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับระบบการจัดการสุขภาพสัตว์ เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ของประเทศ ๒. ดำเนินการวางแผน และกำหนดทิศทางของแผนการพัฒนาระบบงานบริการทางสุขภาพสัตว์ และการพัฒนาสุขภาพสัตว์ เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต ปศุสัตว์ ๓. ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสุขภาพสัตว์ของประเทศ
กลุ่มงานระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ ทั้งในโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในสัตว์ ๒. ดำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดทิศทาง แผนการเฝ้าระวังโรคระบาดของสัตว์และโรคติดต่ออุบัติใหม่ การพัฒนาระบบงานและบุคคลากรทางด้านระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ ๓. ดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนา และการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อ เฝ้าระวังภาวะที่อาจเป็นภัยคุกคามสุขภาพสัตว์
กลุ่มงานระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ ๔. ติดตามวิเคราะห์ข้อมูลระบบการเฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ เพื่อตอบสนองต่อโรคอย่างทันท่วงที และนำเสนอข้อวิเคราะห์สถานการณ์ดังกล่าวให้ผู้เกี่ยวข้อง ๕. เป็นศูนย์ให้บริการข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศด้านระบาดวิทยาและสุขภาพสัตว์ของประเทศ ๖. ประสานงานกับหน่วยที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตามข้อตกลงความร่วมมือขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) และองค์การอนามัยโลก (WHO)
กลุ่มงานบำบัดโรคสัตว์ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านงานบริการทางการสัตวแพทย์ ทั้งด้าน อายุรกรรม ศัลยกรรม สูติกรรม และเภสัชวิทยา ๒. กำหนดแผนงาน และให้การสนับสนุนงานบริการทางการสัตวแพทย์ ของกรมปศุสัตว์ ทั้งในภาวะปกติและในภาวะฉุกเฉิน ๓. ดำเนินการวางแผนงานบริการสุขภาพสัตว์ การจัดตั้งสถานพยาบาลสัตว์ เพื่อให้การบริการทางการสัตวแพทย์ ในส่วนภูมิภาค ๔. ให้คำปรึกษา แนะนำ และฝึกอบรมบุคลากรของกรมปศุสัตว์ให้มีทักษะด้านการบำบัดรักษาโรคสัตว์
กลุ่มงานบำบัดโรคสัตว์ ๕. รับผิดชอบการดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลสัตว์ และการจัดมาตรฐานสถานพยาบาลสัตว์ ๖. รับผิดชอบการดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ การจดทะเบียนและการสนับสนุนองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์และสถานสงเคราะห์ทั่วประเทศ ๗. รับผิดชอบงานโครงการสัตวแพทย์พระราชทาน ตามพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙
กลุ่มงานควบคุมป้องกันโรคสัตว์เลี้ยง ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาด้านงานควบคุมป้องกัน กำจัดโรคระบาดในสัตว์เลี้ยง โรคติดต่อระหว่างสัตว์เลี้ยงและคน ที่มีประสิทธิภาพ ๒. ดำเนินการควบคุม ป้องกัน กำจัดโรคระบาดในสัตว์เลี้ยง โรคติดต่อระหว่างสัตว์เลี้ยงและคน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ กฎหมายว่าด้วยโรคพิษสุนัขบ้า และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ๓. ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุม ป้องกัน กำจัดโรคระบาดในสัตว์เลี้ยง โรคติดต่อระหว่างสัตว์เลี้ยงและคน ๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์เลี้ยงและคน
กลุ่มงานควบคุมป้องกันโรคปศุสัตว์ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนางานด้านควบคุม ป้องกัน และกำจัดโรคระบาดในปศุสัตว์ โรคติดต่อระหว่างปศุสัตว์และคน ให้มีประสิทธิภาพ ๒. ดำเนินการควบคุม ป้องกัน และกำจัดโรคระบาดในปศุสัตว์ ตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ๓. ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการควบคุม ป้องกัน และกำจัดโรคระบาดในปศุสัตว์ โรคติดต่อระหว่างปศุสัตว์และคน ๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อระหว่างปศุสัตว์และคน
กลุ่มงานควบคุมป้องกันโรคสัตว์ปีก ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนางานด้านการควบคุม ป้องกัน และกำจัดโรคระบาดในสัตว์ปีก โรคติดต่อระหว่างสัตว์ปีกและคนให้มีประสิทธิภาพ ๒. ดำเนินการควบคุม ป้องกัน และกำจัดโรคระบาดในสัตว์ปีก ตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ๓. ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุม ป้องกัน และ กำจัดโรคระบาดสัตว์ในสัตว์ปีก โรคติดต่อระหว่างสัตว์ปีกและคน ๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์ปีกและคน
สถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านสุขภาพช้าง และวิชาการที่เกี่ยวข้องเพื่อการอนุรักษ์ช้างบ้าน ๒. ดำเนินการให้บริการพัฒนาสุขภาพช้าง การป้องกันโรค และการบำบัด รักษาโรคของช้าง ๓. กำหนดแผนและทิศทางการพัฒนาสุขภาพช้างของประเทศไทย ๔. ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านสุขภาพช้าง ๕. ดำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์ ปีงบประมาณ 2561 แนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์ ปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อน เกษตรกร ยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดีขึ้น เกษตรกรมีความภาคภูมิใจในอาชีพเกษตรกร มีรายได้เพิ่มขึ้น/หนี้สินลดลง กลุ่มที่ 1 การปรับระบบการเลี้ยง GFM กลุ่มที่ 2 การป้องกันโรคระบาดที่สำคัญ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและการให้ความรู้แก่เกษตรกร กลุ่มที่ 3 การเฝ้าระวังโรค การสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังโรค กลุ่มที่ 4 การซ้อมแผนรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินของ จนท. Cluster สุขภาพ Cluster ผลิต Cluster มาตรฐาน
แนวทางการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบสุขภาพสัตว์ การขับเคลื่อนงานพัฒนาการจัดการสุขภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์ ดูแลศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ / สหกรณ์โคนม งานบริการและวิจัย ฝึกอบรมนายสัตวแพทย์บรรจุใหม่ด้านการรักษาพยาบาลสัตว์ หน่วย HHU ดำเนินการให้บริการ ประสานงาน ให้คำปรึกษาแก่นายสัตวแพทย์ระดับอำเภอ lab เบื้องต้น เน้น การเฝ้าระวัง และ preventive ให้คำปรึกษาสหกรณ์/ผู้ประกอบการ ฝึกอบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านสุขภาพสัตว์ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพสัตว์เศรษฐกิจ (Health service center) ลงพื้นที่ตรวจการให้บริการแบบเชิงรุก มี facility เพิ่มมากขึ้นในระดับสถานพยาบาลสัตว์ รัฐให้การสนับสนุนบางส่วน มีการเก็บค่ารักษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญ / ผู้ทรงคุณวุฒิ สถานพยาบาลสัตว์ ประจำอำเภอ
แนวทางการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบการป้องกันโรค และการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม GFM Good Farming management (GFM) Backyard and small holder farm GFM GFMs Markets Improvement GAP มาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2558 From Farms to Table Sustainable ความยังยืน Impact from many diseases
sustainable 3 5 2 1 4 GFM Backyard GFMs Markets GAP Animal epidemic act. B.E.2558 (2015) Chapter 1 Section 7 :disease prevention and control Improvement GAP From Farms to Table Conceptual frame work GFMs Markets 3 Backyard GFM 5 2 1 management Breed feeding 4 Impact from many diseases (prrs, csf, fmd etc.) According to the data of Thailand, it was showed that backyard farm are impacted from epidemic diseases . So DLD has created the Good farming management project , this project has the ordinary practice that involved about the biosecurity system in farm by referred from section 7 of animal epidemic act 2015. The adventage from this project is to make constantly income to farmer . Even more , DLD have plan to develop The GFM to GAP in backyard farming . GFM=Good Farming Pratice =Minimum Biosecurity requirements for farm animals sustainable
แนวทางการขับเคลื่อนงานจ้างเหมาบริการ ช่วยงานด้านสัตวแพทย์ เครือข่ายเฝ้าระวังโรคระดับอำเภอ พัฒนางานตรวจ ป้องกันโรคสัตว์ เพิ่มศักยภาพงานสุขภาพสัตว์และงานส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ มีระบบติดตาม เฝ้าระวังโรคอย่างทันการณ์ (DLD 4.0) ปรับปรุงระบบการเลี้ยงสัตว์ ให้ปลอดจากโรคและเป็นมาตรฐาน เจ้าหน้าที่จ้างเหมา
แผนการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของด้านระบาดวิทยา การสอบสวนโรค การทำแผนที่จุดเกิดโรค การเขียนรายงานการสอบสวนโรค ระดับพื้นฐาน (นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ) การศึกษาทางระบาดวิทยา การวิเคราะห์เชิงพื้นที ระดับกลาง (นายสัตวแพทย์ชำนาญการ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงของโรคระบาด การวิเคราะห์ข้อมูลการระบาดโดยสถิติ อื่นๆ ระดับสูง (ผู้ผ่านระดับพื้นฐาน และระดับกลางมาแล้ว)
แนวทางขับเคลื่อนการทำงานเชิงรุกการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานของศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี พ.ศ. 2560-2563 ยุทธศาสตร์ 1 การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ ยุทธศาสตร์ 5 การประชาสัมพันธ์ ยุทธศาสตร์ 2 การจัดการระบบศูนย์พักพิงสัตว์ ยุทธศาสตร์ 6 การบูรณาการและการบริหารจัดการข้อมูลโรคพิษสุนัขบ้า ยุทธศาสตร์ 3 การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน ยุทธศาสตร์ 7 การติดตามและประเมินผล ยุทธศาสตร์ 4 การขับเคลื่อนการดำเนินงานโรคพิษสุนัขบ้าในท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ 8 การพัฒนานวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี Dog & Cat Population control Dog & Cat Survey and Registration Animal Vaccine Coverage Human Case Animal Case Zero case Zero case At least 80% Index : At least 80% No Stray dog / cat Vision : กำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากประเทศไทยภายในปี พ.ศ. 2562 Goals : ไม่มีคนและสัตว์เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าอย่างยั่งยืน
Road Map: Rabies Free Zone 2017 - 2020 A = 27 provinces A = 39 provinces RF = 27 provinces A = 11 provinces RF = 66 provinces RF = 77 provinces Control area level C Control area level B level A Rabies Free area Control area level C Control area level B Control area level A Rabies Free area
กิจกรรมปรับระบบป้องกันโรคในไก่พื้นเมือง กลุ่มควบคุมป้องกันโรคสัตว์ปีก □ โรงเรือนป้องกันลมฝน □ มีตาข่ายล้อมรอบ □ มีอ่างน้ำยาฆ่าเชื้อจุ่มเท้าเข้าออก □ มีพื้นที่ให้ไก่คุ้ยเขี่ยหากิน □ มีรั้วป้องกันสุนัข แมว และสัตว์อื่นๆ □ ไก่เข้าใหม่หรือไปชนกลับมา ต้องแยกไม่ให้เข้าโรงเรือน 7 วัน
1.โรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) 2.โรคคอบวม (Haemorhagic septicemia) 3.โรควัวบ้า (BSE) 5.โรคบรูเซลโลสิส โรคทูเบอร์คูโลสิส และพยาธิในเม็ดเลือดในโคนม โคเนื้อ และกระบือ 4.โรคบรูเซลโลสิส CAE และ PPRในแพะ แกะ 6.โรคพีอาร์อาร์เอส 7.โรคไข้สมองอักเสบนิปาห์ 8. การสร้างพื้นที่ปลอดโรค 9. โรคแอนแทรกซ์.
แนวทางการดำเนินกิจกรรมจัดตั้งสถานพยาบาลสัตว์ ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินการให้ปศุสัตว์จังหวัดและปศุสัตว์อำเภออำเภอเป้าหมายรับทราบ สำรวจข้อมูลและกำหนดเป้าหมายสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดและอำเภอทีพร้อมดำเนินการ สคบ.โอนจัดสรรงบประมาณให้จังหวัดเป้าหมาย สำนักงานปศุสัตว์ดำเนินการปรับปรุงสถานที่ที่จะเปิดเป็นสถานพยาบาลสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และเวชภัณฑ์ สำหรับใช้ในสถานพยาบาลสัตว์ สคบ.จัดการอบรมนายสัตวแพทย์และบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์ดำเนินการประชาสัมพันธ์การดำเนินการสถานพยาบาลสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์ จังหวัด อำเภอ ดำเนินการเปิดสถานพยาบาลสัตว์ประจำอำเภอ
รายชื่ออำเภอเป้าหมาย จังหวัด ลำสนธิ ลพบุรี มวกเหล็ก สระบุรี วังสมบูรณ์ สระแก้ว พานทอง ชลบุรี นางรอง บุรีรัมย์ เทพสถิต ชัยภูมิ ปราสาท สุรินทร์ ขุขันธ์ ศรีสะเกษ เมือง หนองคาย สกลนคร สันป่าตอง เชียงใหม่ แม่ออน แม่ลาว เชียงราย ตากฟ้า นครสวรรค์ ชะอำ เพชรบุรี กำแพงแสน นครปฐม โพธาราม ราชบุรี สงขลา ตรัง พัทลุง
แผนการปฏิบัติกิจกรรมบริการสุขภาพสัตว์ในส่วนภูมิภาค