โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
โครงสร้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงบูรณาการ โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข วันที่ 15 ธันวาคม 2559 โรงแรมเวียงอินทร์ ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท จังหวัดเชียงราย

สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.) องค์ประกอบของ สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.) ผู้ทรงคุณวุฒิภาครัฐและเอกชนไม่เกิน ๘ ราย

สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.) บทบาทหน้าที่ของ สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)

สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.) บทบาทหน้าที่ของ สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)

แนวทางการบริหารจัดการและติดตามโครงการวิจัย ภายใต้แผนงานด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ 2560 (ในส่วนที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพ) นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งบประมาณแบบบูรณาการ ด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ 2560 (งบประมาณ 15,408.21 ลบ.) งบประมาณ (ล้านบาท) บัญชี นวัตกรรม ไทย Super Cluster/ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ท้าทาย มุ่งเป้า วิจัยพื้นฐาน วิจัยและพัฒนา วิจัยประยุกต์ พัฒนาระบบมาตรฐานการวิจัย พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย R&D for competitiveness R&D for knowledge R&D for Infrastructure 7,186.54 ลบ. 46.64 % 4,223.68 ลบ. 27.41 % 3,997.98 ลบ. 25.95 %

1. วิจัยและพัฒนามุ่งตอบสนองภาคการผลิตสาขายุทธศาสตร์และแก้ไขปัญหาสำคัญของประเทศ (งบประมาณ 956.38 ลบ.) ตัวชี้วัดเป้าหมาย : ผลงานวิจัยสามารถนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของโครงการวิจัยที่แล้วเสร็จ ตัวชี้วัดแนวทาง : โครงการวิจัยที่ร่วมวิจัยกับภาคเอกชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 งบประมาณแบบบูรณาการ ด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ 2560 กลุ่ม Super Cluster /10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จำแนกรายหน่วยงาน งบประมาณวิจัยแบบบูรณาการ ด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ 2560 กลุ่ม Super Cluster /10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จำแนกรายสาขา ยานยนต์สมัยใหม่, 96.50 ลบ. , (10.09%) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี, 168.13 ลบ., 17% กองทุนสนับสนุนการวิจัย , 450.00 ลบ., (47.05%) ดิจิตอล, 101.27 ลบ., (10.59%) เชื้อเพลิงชีวภาพ และเคมีชีวภาพ, 80.61 ลบ. , (8.43%) มหาวิทยาลัยมหิดล, 113.50 ลบ., 12% อาหารแห่งอนาคต, 112.50 ลบ. , (11.76%) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์, 78.50 ลบ. , (8.21%) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 1.50 ลบ., (0.16%) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ , 103.47 ลบ.,(10.82%) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ, 185.85 ลบ. , (19.43%) ขนส่งและการบิน, 61.00 ลบ., (6.38%) บัญชีสิ่งประดิษฐ์ไทย, 95.33 ลบ. (76.76%) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ , 36.00 ลบ., (3.76%) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 5.80 ลบ., (0.61%) อื่นๆ, 11.04 ลบ. , (1.15%) การแพทย์ครบวงจร, 212.06 ลบ. , (22.17%) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9.29 ลบ., (0.97%) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 29.71 ลบ., (3.11%) และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, 8.55 ลบ., (0.89%) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 9.60 ลบ., (1%) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 16.04 ลบ., (1.68%) กรมวิทยาศาสตร์บริการ , 13.34 ลบ., (1.39%) อิล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ, 8.50 ลบ. , (0.89%) รายหน่วยงาน รายสาขา

พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย บุคลากรด้านการวิจัยและระบบมาตรฐานการวิจัยทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย งบประมาณ 3,190.2378 ล้านบาท 14 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : สป.วท./พว./สวทน./สทน./สป.ศธ./สกอ./ ศก./อบ./สต./สวรส./วช./สตร./วว./สกว. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย งบประมาณ 1,068.4002 ล้านบาท 12หน่วยงานที่รับผิดชอบสป.วท./ปส./สทน./ศก./มอ./อบ./มจธ./มช./มข./มธ./รจ./วช. พัฒนา/มาตรฐานวิจัย งบประมาณ 95.3644 ล้านบาท 6 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : พว./สป.ศธ./มร./มจธ./มธ/วช. ตัวชี้วัดเป้าหมาย : หน่วยงานที่ใช้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัยเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย : สัดส่วนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาต่อประชากรเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย : หน่วยงานที่นำระบบ/มาตรฐานการวิจัยที่ได้รับการพัฒนาไปใช้เพิ่มเติม ตัวชี้วัดแนวทาง : จำนวนความร่วมมือการบูรณาการและการใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยร่วมกัน ตัวชี้วัดแนวทาง : จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยในสาขาสำคัญต่อการพัฒนาของประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ตัวชี้วัดแนวทาง : จำนวนระบบ/มาตรฐานการวิจัยที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนา (10 ระบบ/มาตรฐาน) การส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค และการ บ่มเพาะผู้ประกอบการธุรกิจ การก่อสร้างอาคารพัฒนาวัสดุอ้างอิงรับรอง ด้านมาตรวิทยาเคมี  การเพิ่มศักยภาพด้านมาตรวิทยารังสี การจัดตั้งศูนย์สัตว์ทดลองเพื่อสนับสนุนการวิจัย ด้านเภสัชรังสี  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการเป็นเลิศ รองรับการวิจัยของมหาวิทยาลัย  การจัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยวิทยาศาสตร์ฮาลาลชั้นสูง ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายบุคลากรภาครัฐไปทำงานตามความ ต้องการภาคอุตสาหกรรมสาขายุทธศาสตร์ (Talent Mobility)  พัฒนาบุคลากรด้าน STEM และเพิ่มขีดความสามารถบุคลากร ด้านวทน. ขั้นสูงตามความต้องการในสาขายุทธศาสตร์ประเทศ สร้างศักยภาพและความสามารถนักวิจัย ผลงานวิจัยและ นักวิจัยที่มีคุณภาพ  ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ อาจารย์รุ่นกลาง วุฒิเมธีวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส และศาสตรจารย์ ดีเด่น  ทุนสนับสนุนไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ และในประเทศ ใน สาขาขาดแคลนและสนับสนุน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย  สนับสนุนการจัดหลักสูตรการศึกษาระดับ ม.ปลาย ใน หลักสูตรเฉพาะสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้าน ว.และ ท. การพัฒนาองค์กรให้เป็นแหล่งเชื่อมโยงทางการวิจัยของ ประเทศ และสร้างศูนย์กลางของประเทศกับประเทศในกลุ่มอาเซียน การส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการวิจัยในคน จัดทำมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ สร้างมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย การรองรับโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี  พัฒนาระบบมาตรฐานคุณภาพงานวิจัยของมหาวิทยาลัย

แนวทางการบูรณาการใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานรวบรวม “ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัย” ทั้งเรื่องของอุปกรณ์และบุคลากร เพื่อเผยแพร่ฐานข้อมูลให้ประชาชนและทุกภาคส่วนที่สนใจได้ทราบข้อมูลและสามารถนำผลงานงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการเชื่อมโยงงานวิจัยและพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคม โดยรวบรวมข้อมูลศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทั้งบุคลากร นักวิชาการ นักวิจัย เครื่องมือ ห้องปฏิบัติการ ความชำนาญ การใช้ประโยชน์ ฯลฯ ไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน และให้บริการสืบค้นข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ความสามารถของฐานข้อมูล  รวบรวมข้อมูลศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน  ให้บริการสืบค้นข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึง สำรองเวลาใช้งาน ได้แบบ One stop service ผ่านเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อสนับสนุนแนวทางการบูรณาการการใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน จึงเห็นควรกำหนดความสำเร็จของโครงการที่เสนอขอสนับสนุนงบประมาณด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะต้องกรอกข้อมูลของโครงการพื้นฐานดังกล่าวในระบบ STDB 01/01/62