แนวความคิดทางสถาปัตยกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

การออกแบบ Design.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ขอต้อนรับ ทีมคณาจารย์ มสธ. ที่เข้มแข็ง
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ชุมชนปลอดภัย.
การออกแบบและเทคโนโลยี
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
Scene Design and Lighting Week1-3
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
ศาสนาเชน Jainism.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
(Code of Ethics of Teaching Profession)
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวความคิดทางสถาปัตยกรรม Architectural Design ดร.ศุภกิจ มูลประมุข

บทนำ สถาปัตยกรรมเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์เป็นหลัก และได้ถูกพัฒนารูปแบบ และความสวยงามขึ้นตามความเชื่อ แนวความคิด และเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้นตามยุคสมัย เราจะเห็นได้ ว่าสถาปัตยกรรมในสมัยก่อนนั้นยังไม่มีรูปแบบมักเท่าไหร่นัก และมักจะมีลวดลายประดับตามตัวอาคาร และแต่ว่าจะมียศหรือฐานะอยู่ในขั้นไหน เพราะลวดลายประดับนั้นถือเป็นการบ่งบอกฐานะทางสังคมใน สมัยนั้น แต่เมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมาได้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในหลายด้าน เกิดขึ้น และยุคที่ทาให้ทุกอย่างพัฒนาไปอย่างรวดเร็วก็คือยุคสมัยใหม่(modern) นั้นเอง

ยุคสมัยใหม่ คือ ยุคที่ให้ความสําคัญในเรื่องของศิลปะ วรรณคดี วิทยาการ สถาบัน เหตุผล การศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ รูปแบบของชีวิต ความจริงของชีวิตบนฐานของ ความเจริญเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เป็นสาเหตุสําคัญสนับสนุนส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงพัฒนาสังคม โลก ที่เรียกกันว่า “สมัยใหม่ความทันสมัย (Modernism)” ซึ่งความเป็นทันสมัยหรือสมัยใหม่ (modernity) นี้ถูกกําหนดให้เป็นทฤษฎีทางสังคมและการเมืองขึ้นมาโดย Comte Weber Marx เป็นต้น ความเป็น

สมัยใหม่ถูกทําให้ตรงข้ามกับวัฒนธรรม จารีต และประเพณีเดิมๆ และยังสร้างอัตลักษณ์ของตัวมันขึ้นมา โดยสิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรมใหม่ๆ เพราะผลของความเจริญทางการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการขับเคลื่อนทางสังคมทําให้มนุษย์ต้องการรู้เข้าใจตนเองและสังคมมากยิ่งขึ้น เพื่อ ความถูกต้องดีงามแบบสากล แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมโลกร่วมกัน เพือเป็นความรู้ความเข้าใจใหม่ ร่วมกัน รวมถึงแขนงของงานสถาปัตยกรรมด้วย

สถาปัตยกรรมแบบสมัยใหม่ ส่วนมากแล้วสถาปนิกจะได้แนวคิดจากศิลปะและปรัชญาของนักสังคมศาสตร์หรือนักเศรษฐศาสตร์ทุกแขนงจึงมีความเกี่ยวเนื่องกัน ซึ่งแนวความคิดในสถาปัตยกรรมสมัยใหม่จะค่อนข้างเป็นสากล ละทิ้งทุกอย่าง เชื่อในธรรมชาติ เรียบง่าย รูปทรงเรขาคณิต เน้นประโยชน์ใช้ สอยของพื้นที่ที่มีต่อมนุษย์ วัสดุที่นํามาใช้จะมีความหนาทึบ คงทน แข็งแรง แต่ความสวยงามก็ยังคงอ้างอิง กับรูปแบบของศิลปะในยุคนั้น และสถาบันที่มีอิทธิพลในด้านงานสถาปัตยกรรมในยุคนี้มากที่สุดและเป็น สถาบันที่มีอิทธิพลจนถึงในยุคปัจจุบันเลยก็ว่าได้นั้นก็คือ Bauhaus สถาบันนี้ถูกประยุกต์จากโรงเรียนสอน ศิลปะและโรงเรียนสอนการออกแบบเข้าด้วยกัน โดย สถาปนิก Walter Gropius ถือเป็ นสถาบันที่บ่มเพาะศิลปิ นที่มีชื่อเสียงเป็ นจํานวนมาก

เพราะการเรียนการสอนที่เน้นในเรื่องของแนวความคิดที่ทันสมัยและ ผสมผสานกับนวัตกรรมสมัยใหม่ในเชิงอุตสาหกรรมเพื่อทําให้คนที่เข้าไปศึกษาในสถาบันน้จบออกมาแล้ ว สามารถนําความรู้ไปต่อยอดเป็นผลผลิตทางสังคมในยุคอุตสาหกรรมนี้ใด้ และสิ่งที่ทําให้สถาบันแห่งน้เป็น ที่รู้จักและถือเป็นเอกลักษณ์ก็คือสถาปัตยกรรมในสถาบันนี้ที่ออกแบบโดย Walter Gropius ที่เมือง Dessau ประเทศเยอรมัน งานออกแบบสถาปัตยกรรมชิ้นน้เองที่สะท้อนถึงแนวคิดของการสอนสถาปัตยกรรมใน Bauhaus ได้ชัดเจนที่สุด นั้นก็คือการใช้รูปทรงเรขาคณิตและมีความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ตัวอาคารเป็นสีขาวใช้ผิวปูนฉาบเรียบ โดยมีวัสดุอื่นเป็นส่วนรอง Walter Gropius ไม่ได้ตระหนักถึงความสวยงามเพียงอย่างเดียวแต่ยังตระหนักถึงการดูแลรักษาเป็นสําคัญด้วย เพราะวัสดุที่สร้าง อาคารนั้นประกอบไปด้วย เหล็ก คอนกรีต กระจก ซึ่งมีความหนา แข็งแรง ตัวอาคารไม่มีลวดลายใดๆปรากฏอยู่นอกจากการออกแบบและจัดวางช่องหน้าต่างและช่องปิดกําแพงในส่วนที่ยื่นออกมาและส่วน เว้าต่างๆ ของอาคาร สถาปัตยกรรมแห่งนี้เป็นดังงานทัศนศิลป์ สมัยใหม่และมีคุณค่าทางสังคม เห็นความสําคัญของการการอยุ่ร่วมกัน ไม่พึ่งพาความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกับธรรมชาติเพียงสองสิ่งนี้ท่านั้น แต่ยังช่วยสร้างความเป็นเอกภาพแบบใหม่ระว่างศิลปะและวิทยาการใหม่ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เกิดเป็นสุนทรียศาสตร์สมัยใหม่ขึ้น

สถาปัตยกรรม (Architecture) สถาปัตยกรรม เป็นวิทยาการของการก่อสร้าง ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านประโยชน์ใช้สอย และการแสดงออกของมนุษย์ที่เจริญแล้ว แม้แต่ในสังคมชุมชนที่มีความเป็นอยู่ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ก็ยังมีการสรรสร้างงานสถาปัตยกรรม เพื่อสนองการใช้สอยขั้นพื้นฐาน ส่วนในสังคมที่เจริญแล้วจะตัวบ่งชี้วัดในพัฒนาการของสังคมที่แสดงความเป็นปึกแผ่นแน่นหนา และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของสังคมหรือกลุ่นคนนั้น ๆ (ผุสดี ทิพทัส. 2538) สถาปัตยกรรม ประเภทของสถาปัตยกรรมขึ้นอยู่กับรูปแบบและกฎเกณฑ์ของสังคมในอดีตอาจจำแนกประเภทของสถาปัตยกรรมตามบทบาทของผู้อุปถัมภ์วานสถาปัตยกรรมในแต่ละกลุ่มชนได้ ประเภทของสถาปัตยกรรมจึงมีจำกัดเฉพาะอาคารของพระมหากษัตริย์หรือชนชั้นปกครอง กับอาคารทางศาสนา ส่วนในปัจจุบันเราจำแนกประเภทของสถาปัตยกรรมเป็นหลายประเภทขึ้นตามความต้องกิจกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อความต้องการทั้งทางกาย ทางความรู้สึก และทางความคิดที่เกิดจากสติปัญญาและความรอบรู้ของมนุษย์ด้วย

สถาปัตยกรรม (Architecture) เป็นผลงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง อาคาร ที่อยู่อาศัยต่าง ๆ การวางผังเมือง การจัดผังบริเวณ การตกแต่งอาคาร การออกแบบก่อสร้าง ซึ่งเป็นงานศิลปะ ที่มีขนาดใหญ่ต้องใช้ผู้สร้างงานจำนวนมาก และเป็นงานศิลปะ ที่มีอายุยืนยาว สถาปัตยกรรม เป็นวิธีการจัดสรรบริเวณที่ว่างให้เกิดประโยชน์ใช้สอยตามความต้องการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และศิลปะ ความงดงาม และคุณค่าของสถาปัตยกรรม ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ดังนี้ คือ 1. การจัดสรรบริเวณที่ว่างให้สัมพันธ์กันของส่วนต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก 2. การจัดรูปทรงทางสถาปัตยกรรมให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย และสิ่งแวดล้อม 3. การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกลมกลืน สถาปัตยกรรมแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ชนิดที่สร้างขึ้นเพื่อให้มนุษย์เข้าไปอาศัยอยู่ หรือประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เช่น อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร ศาลา ฯลฯ 2. ชนิดที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยอย่างอื่น ๆ เช่น อนุสาวรีย์ เจดีย์ สะพาน เป็นต้น ผู้สร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม เรียนว่า สถาปนิก (Architect)

สถาปัตยกรรม (Architectural) นั้นเป็นศิลปะ (Art) และเป็นวิทยาศาสตร์ (Science)เป็นการออกแบบสรรค์สร้าง (Design) ที่ประจักษ์ออกมาเป็นรูปร่างหน้าตาที่งดงาม มีโครงสร้างที่แปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา (Structure) เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ผู้ที่จะเลือกใช้อาคาร (Building)นั้นๆ ศิลปะ (Art) เป็นงานที่สรรค์สร้างโดยธรรมชาติและมนุษยชาติ โดยธรรมชาตินั้น (Natural Art)สร้างงานขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง และมีการเปลี่ยนแปลงเสริมแต่งอยู่ตลอดเวลา มนุษย์เป็นผู้ตัดสินในความงดงามของ งานที่ธรรมชาติสร้างขึ้น แต่ก็มิได้ถือมาเป็นของตนเอง นั่นคืองานศิลปในส่วนของธรรมชาติที่สร้างไว้ให้มนุษย์เป็นต้นแบบ เป็นทฤษฎี เป็นหลักการ เป็นบทเรียนที่มนุษย์ได้ศึกษาหาความรู้จากธรรมชาติไม่รู้จบ จะเป็นรูปร่าง รูปทรง เส้น สี แสง เงาที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวของวัสดุธรรมชาติ ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ลอกเลียนแบบธรรมชาติแทบทั้งสิ้น

สถาปัตยกรรม (Architecture) เป็นวิทยาศาสตร์ (Science) สาขาหนึ่งขององค์ความรู้ที่เกี่ยวกับรูปร่างที่ประกอบขึ้นจากปัจจัย หรือการยอมรับโดยตรงจากการสังเกตุ (Observation) การทดลอง(Experimental) การสืบสาวราวเรื่องต่างๆ และวิธีการศึกษาระบบการจัดการ (Systematically arranged) และแสดงให้เห็นถึงการจัดการในเชิงปฏิบัติการของกฎและข้อบังคับที่ถูกกำหนดขึ้นตามสภาพความเป็นอยู่ ภูมิอากาศ ความเชื่อ ศรัธาและสิ่งแวดล้อมของแต่ละสังคม Architecture: เป็นเทคโนโลยี (Technology) อันเป็นการประยุกต์ทางด้านวิทยาศาสตร์ นำมาจัดการองค์ความรู้ที่จะสามารถสร้างสรรค์เทคนิควิธีการ และวัสดุให้มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต สังคม และสภาพแวดล้อม โดยใช้เทคนิค (Techniques) ที่เป็นศาสตร์และศิลปะ หรือศิลปะวิทยาการโดยทั่วๆไปนำมาใช้ในงาน อันมีTechniques ที่เกี่ยวกับงานก่อสร้างอาคาร เป็นศาสตร์และศิลปทางด้านรูปร่างshaping องค์ประกอบต่างๆ (ornamenting) ของเครื่องประดับตกแต่ง หรือการรวบรวมวัสดุอุปกรณ์ทางด้านโครงสร้าง

สถาปัตยกรรม (Architecture) เป็นงานวิศวกรรมที่เป็นศิลปะและศาสตร์ในการประยุกต์ใช้กฎทางวิทยาศาสตร์ที่มีหลักการทางด้านปฏิบัติงานในการออกแบบและโครงสร้างทางด้านการก่อสร้าง (construction) วัสดุอุปกรณ์ (equipment) เครื่องมือต่างๆและระบบที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม งานสถาปัตยกรรมต้องมีความแน่นอน (Firmness) มีสภาพการณ์ (state) สภาวะหรือคุณภาพ(quality) ของความสมบูรณ์ของโครงสร้าง (being solidity constructed) Architecture: เป็นศาสตร์ทางพฤติกรรม (behavior science) อันประกอบด้วยศาสตร์หลายๆแขนงด้วยกัน เช่น สังคมวิทยา (sociology) และมนุษยวิทยา (Anthropology) เป็นการค้นพบจากการสังเกตพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม

สถาปัตยกรรม คือ ศิลปะและวิทยาการแห่งการก่อสร้าง ซึ่งอาจอธิบายได้อีกอย่างหนึ่งว่า หมายถึงการจัดที่ว่างสามมิติเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ กล่าวคือ เพื่อให้เกิดคุณค่า ๓ ประการได้แก่ (๑) ความสะดวกและเหมาะสมในการใช้สอย (๒) ความมั่นคงแข็งแรง (๓) ความชื่นชม ความงาม ความมีสุนทรียภาพ