เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ประชาชนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ระบบการตรวจราชการ และนิเทศงาน ปี 2555
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การป้องกันควบคุมโรค NCD
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
3 Eye Service Plan : Health Area.
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564 ร่างแผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564

กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ กระบวนการ วันที่จัดกระบวนการ Day 1 ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ที่ผ่านมา 26 กรกฎาคม2559 Day 2 นำเสนอและวิเคราะห์ประเด็นสุขภาพสำคัญ 4 สิงหาคม 2559 Day 3 จัดทำกลยุทธ์ตามเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ 12,15 กันยายน 2559 Day 4 Approve แผนยุทธศาสตร์ 16 กันยายน 2559 Day 5 สรุปแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเขตสุขภาพที่ 2 5 ตุลาคม 2559 Day 6 พิจารณาร่างแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเขตสุขภาพที่ 2 13 ตุลาคม 2559

การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ ปี 2560 - 2564 ครั้งที่ กระบวนการ วันที่จัด 1 ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ให้คณะทำงานฯ เขตสุขภาพที่ 2 ภายในเดือนตุลาคม 2559 2 อนุมัติแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 3 อนุมัติโครงการ ภายในเดือนพฤศจิกายน 2559

“เขตสุขภาพที่ 2 รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี” วิสัยทัศน์ (vission) เขตสุขภาพที่ ๒ “เขตสุขภาพที่ 2 รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี”

พันธะกิจ (Mission) เขตสุขภาพที่ ๒ 1.สร้างเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย โดยการรวมพลังสังคม ภาคีเครือข่าย และประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. จัดบริการสุขภาพแก่ประชาชนให้เข้าถึงบริการทุกมิติที่ได้มาตรฐานโดยเครือข่ายที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ 3. บริหารจัดการภายใต้ระบบธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์ (Goal) 2559 - 2564 เป้าประสงค์ที่ 1 ประชาชนมีสุขภาพดี : อัตราการเสียชีวิตและอัตราการเกิดโรค ลดลง ตัวชี้วัดด้านสุขภาพที่สำคัญบรรลุเป้าหมาย   เป้าประสงค์ที่ 2 เจ้าหน้าที่มีความสุข : บุคลากรได้รับการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีสมรรถนะและมีความสุขในการทำงาน เป้าประสงค์ที่ 3 ระบบสุขภาพยั่งยืน : มีระบบสุขภาพเป็นหนึ่งเดียว องค์รวม ไร้รอยต่อ สร้างความเป็นธรรม และความมั่นคงทางสุขภาพ

แผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2560 – 2564 แผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2560 – 2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ : P&P excellence กลยุทธ์ 1.1.สร้างสุขภาพทุกกลุ่มวัยโดยมุ่งการสร้างความตระหนักรู้เพื่อปรับพฤติกรรมสุขภาพ 1.2 สร้างระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแบบบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย 1.3 สร้างความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 1.4 มุ่งจัดการปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Health determinant) โดยการสร้างระบบสุขภาพเชิงรุก

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 Service excellence กลยุทธ์ 2.1 มุ่งเน้นพัฒนาระบบบริการทุกระดับและการแพทย์ปฐมภูมิให้มีมาตรฐาน 2.2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ตอบสนอง Health need บนหลักการ One region One hospital 2.3 พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ เพื่อความเป็นเลิศด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Service Academic และ Research )

ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 การบริหารจัดการกำลังคนที่เป็นเลิศ (People excellence) กลยุทธ์ 3.1. พัฒนาระบบการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 3.2 พัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นมืออาชีพ 3.3 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนความก้าวหน้าในวิชาชีพ และสร้างขวัญกำลังใจ

ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 Governance excellence กลยุทธ์ 4.1 เสริมสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่ตอบสนองการใช้ทุกมิติและทุกระดับ 4.2 ส่งเสริมการใช้ยาที่มีเหตุผล และสร้างระบบยาที่สามารถสนับสนุนภารกิจอย่างเพียงพอ 4.3 นำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในระบบบริหารจัดการ 4.4 วางแผนการลงทุนระยะยาวที่สอดคล้องกับ health need และ health service 4.5 พัฒนาระบบการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ

ประเด็นทางสุขภาพที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ) NCD SP NCD/ สคร.2 RTI SP อุบัติเหตุ/สคร.2 ไข้เลือดออกและซิก้า สคร.2 คุณภาพเด็กไทย ศูนย์อนามัยที่ 2 โรคหลอดเลือดหัวใจ SP สาขาหัวใจฯ

ประเด็นทางสุขภาพที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ) โรคมะเร็ง SP สาขามะเร็ง ผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 มารดาตาย MCHB เขต/ศูนย์อนามัยที่ 2 ฆ่าตัวตายสำเร็จ SP จิตเวช/ศูนย์สุขภาพจิตที่ 2

ประเด็นพัฒนาที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ) การบริหารจัดการระบบข้อมูล(Information system) ผู้รับผิดชอบหลัก CIO 2. การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ(District Health System) ผู้รับผิดชอบหลัก SP ปฐมภูมิ 3.การบริหารและพัฒนากำลังคน ผู้รับผิดชอบหลัก CHRO 4. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ(Primary care cluster) ผู้รับผิดชอบหลัก SP ปฐมภูมิ 5. การบริหารการเงินการคลัง ผู้รับผิดชอบหลัก CFO

ประเด็นพัฒนาที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ) 6. การส่งต่อ ผู้รับผิดชอบหลัก CSO 7. ธรรมาภิบาล (Good governance) ผู้รับผิดชอบหลัก COO 8. การวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากร ผู้รับผิดชอบหลัก COO 9.การตรวจสอบติดตาม ประเมินผล ผู้รับผิดชอบหลัก COO 10. การวิจัยและพัฒนา (R&D) ผู้รับผิดชอบหลัก CRO

ประเด็นพัฒนาเพื่อความเป็นเลิศ 1.Service plan สาขาตา ผู้รับผิดชอบหลัก SP สาขาตา 2 . Service planสาขาทารกแรกเกิด ผู้รับผิดชอบหลัก SP สาขาทารกแรกเกิด

สถานการณ์ด้านสุขภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 2 NCD โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM ,Pre-HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (ฐาน HDC) จังหวัด คัดกรองDM เสี่ยงสูง ร้อยละ สงสัยป่วย อุตรดิตถ์ 79.22 23,174 15.56 2,943 1.98 ตาก 80.91 11,303 7.78 1,238 0.85 สุโขทัย 83.24 29,223 14.55 3,576 1.78 พิษณุโลก 69.77 31,540 14.42 4,442 2.03 เพชรบูรณ์ 69.58 31,460 12.03 3,866 1.48 เขต 2 75.13 126,700 12.99 16,065 1.65 คัดกรอง DM - เขต 2 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 126,700 คน ร้อยละ 12.99 สูงอันดับ 1 ของประเทศ (ประเทศ 8.8%) จังหวัด คัดกรองHT เสี่ยงสูง ร้อยละ สงสัยป่วย อุตรดิตถ์ 82.77 46,262 36.92 11,643 9.29 ตาก 83.54 41,330 35.07 8,652 7.34 สุโขทัย 84.12 56,796 36.73 17,460 11.29 พิษณุโลก 73.54 92,061 47.76 15,864 8.23 เพชรบูรณ์ 73.41 77,522 32.32 21,657 9.03 เขต 2 77.96 313,971 37.81 75,276 9.07 คัดกรอง HT เขต 2 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 313,971 ราย ร้อยละ 37.81 สูงอันดับ 2 ของประเทศ (ประเทศ 27.33%) ข้อมูล ณ 27 กค.2559

ผู้ป่วย DM คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี HbA1c <7mg% จังหวัด ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 พิษณุโลก 41.1 52.41 56.82 66.06 เพชรบูรณ์ 49.97 39.91 45.24 39.46 50.9 อุตรดิตถ์ 42.07 39.23 45.27 37.62 42.13 ตาก 35.24 32.53 41.34 47.04 51.72 สุโขทัย 32.66 35.79 33.6 40.1 36.33 เขต 2 45.35 42.44 54.65 51.1 44.11 Med ResNetเขต 2 36.2 37.3 37.9 ผู้ป่วย DM คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี HbA1c <7mg% แหล่งข้อมูล : ระบบรายงานจังหวัด จังหวัด ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 พิษณุโลก 71.4 50.44 71.95 71.14 70.6 เพชรบูรณ์ 62.84 60.45 68.98 60.46 59.93 อุตรดิตถ์ 47.58 55.56 53.41 60.39 57.44 ตาก 68.79 69.59 53.99 58.5 64.06 สุโขทัย 59.75 63.13 59.52 65.17 58.59 ภาพรวมเขต 62.38 59.51 58.39 63.84 62.1 Med ResNetเขต 2 65.7 66 67.2 ผู้ป่วย HT ควบคุม BP ได้ดี (BP<140/90 mmHg 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน)

ความชุกโรคเบาหวาน (Prevalence) แหล่งข้อมูล HDC Service

ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง (Prevalance) ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งในระดับเขตและจังหวัด แหล่งข้อมูล HDC Service

การคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การคัดกรองยังไม่ผ่านค่าเป้าหมายที่มากกว่าร้อยละ 90 แหล่งข้อมูล HDC Service

หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P ) ประเด็นสุขภาพที่ 1. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ตัวชี้วัด 60 61 62 63 64 1. อัตราภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน (ไม่เกิน 32.8) 32. 8 32 .8 2. อัตราการสูบบุหรี่(ลดลงร้อยละ 20 ใน 5 ปี ) 20.35 19.50 18.66 17.81 16.96 3. อัตราการดื่มสุรา (ลดลงร้อยละ10 ใน 5 ปี ) 38.22 37.46 36.71 35.97 35.25 4. อัตราผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ (ลดลง ) 5. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา) 38.15/35.74 41.96/39.31 46.16/43.24 50.77/47.57 55.85/52.33 6. อัตราการเกิด Stroke รายใหม่ (ลดลงร้อยละ 2 จากปีที่ผ่านมา ) 98.54 96.57 94.64 92.75 90.89 7. อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ รายใหม่ (ลดลงร้อยละ 2 จากปีที่ ผ่านมา) 26.32 25.79 25.28 24.77 24.28 8. อัตราการเกิดโรคไตรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง(ลดลง)   หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ต่อ หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P ) กลยุทธ์/มาตรการ 1.2 สร้างระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแบบบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย - ขยายพื้นที่ตำบลจัดการความเสี่ยงต่อ NCD ภายใต้ DHS - สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (เน้นปลอดโรค NCD โดยพัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงใน สปก.) -ขยายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง,เพชร หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ต่อ หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P ) กลยุทธ์/มาตรการ 2.1 มุ่งเน้นพัฒนาระบบบริการทุกระดับและการแพทย์ปฐมภูมิให้มีมาตรฐาน กิจกรรมสำคัญ - พัฒนายกระดับคลินิก NCD คุณภาพให้ผ่านเกณฑ์ในระดับที่สูงขึ้น 3.2 พัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพ Case Manager /System Manager ระดับ CUP 4.1 เสริมสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่ตอบสนองการใช้ทุกมิติและทุกระดับ พัฒนาระบบเฝ้าระวังข้อมูลเพื่อประเมินสถานการณ์ และสะท้อนการดำเนินงาน หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )