งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561

2 Road map แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (4 Phase)
วางรากฐาน Phase 1 ( ) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 ( ) สู่ความยั่งยืน Phase 3 ( ) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 ( )

3

4 4 ปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรม ต่อ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ขอบเขต และ 4 ปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรม 4 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ต่อ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง กิจกรรมทางกาย ไม่เพียงพอ การดื่มสุรา พฤติกรรมบริโภคอาหาร การสูบบุหรี่ น้ำหนักเกิน, ความดันโลหิตสูง, น้ำตาลในเลือดสูง,โคเลสเตอรอลสูง แผนการดำเนินงานในปี 60 กรมยังคงยึด เป้าหมายป้องกันควบคุมโรค เพื่อการลดโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ทั้งโรคติดต่อที่สำคัญ โรคไม่ติดต่อ การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรคประกอบอาชีพ

5 ตัวชี้วัดและเป้าหมายการลดโรค
สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ที่เกี่ยวข้องกับ สำนักโรคไม่ติดต่อ ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 5 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 Promotion, Prevention & Protection Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 1. อัตราผู้ป่วย รายใหม่ -อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน - อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มที่สงสัยป่วย ได้รับการวัดความดันที่บ้าน Home Blood Pressure Monitoring : HBPM DMรายใหม่ ≤ร้อยละ 2.4 - DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.4 HBPM ≥ ร้อยละ 10 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.4 HBPM ≥ ร้อยละ 20 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.28 HBPM ≥ ร้อยละ 30 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.16 HBPM ≥ ร้อยละ 40 1

6 ตัวชี้วัดและเป้าหมายการลดโรค
สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ที่เกี่ยวข้องกับ สำนักโรคไม่ติดต่อ ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 5 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 1. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ DM ≥ 40% HT ≥ 50% DM ≥ 40% HT ≥ 50% 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด CVD Risk ≥ 80% ≥ 82.5% ≥ 85% ≥ 87.5% ≥ 90% 2 Target

7 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
New case DM 1 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 1.1 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (Pre-DM) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับ FBS 100 – 125 mg/dl ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ 1.2 ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ในปีงบประมาณ โดยการวินิจฉัยของแพทย์ และได้รับการขึ้นทะเบียนในคลินิกโรคเรื้อรัง (A/B) x 100 A = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย เบาหวานรายใหม่ และขึ้นทะเบียนในปีงบประมาณ B = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ในปีงบประมาณที่ผ่านมา สูตรคำนวณ คำอธิบาย อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ เกณฑ์เป้าหมาย 2.40

8 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้
ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ หมายถึง ค่าระดับ HbA1c ครั้งสุดท้าย น้อยกว่า 7 mg% ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ผู้ป่วยเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง ผู้ป่วยที่ถูกวินิจฉัยด้วยรหัสโรค ICD10 = E10 - E14 และ Type area = 1 และ 3 คำอธิบาย (A/B) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ B = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ สูตรคำนวณ ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามมารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ มากกว่าหรือเท่ากับ เกณฑ์เป้าหมาย 3 Control DM 40%

9 New case HT คำอธิบาย (C/D) x 100
อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง New case HT คำอธิบาย อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (Pre-HT) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต /80-89 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง หมายถึง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต ≥140/90 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ และรอการวินิจฉัยของแพทย์ การวัดความดันโลหิตที่บ้าน หมายถึง กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ำอีกรอบที่นอกหน่วยบริการสุขภาพ โดย อสม.หรือด้วยตนเอง (กรณีที่วัดความดันโลหิตเป็น) ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน* หลังจากมารับบริการการคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว ภายใน 6 เดือน (C/D) x 100 C = จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน D = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณที่ผ่านมา สูตรคำนวณ

10 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
Control HT คำอธิบาย สูตรคำนวณ เกณฑ์เป้าหมาย ระดับความดันโลหิตที่ควบคุมได้ตามเป้าหมาย หมายถึง ค่าระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้าย (SBP/DBP) น้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท. (ให้ใช้ข้อมูลจากแฟ้ม CHRONICFU) ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจะมีโรคเบาหวานร่วมด้วยหรือไม่ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยโรคด้วยรหัส = I10 - I15 และ Type area = 1 และ 3 (C/D) x 100 C = จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด D = จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 50%

11

12 เป้าหมาย และมาตรการการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อ
“ประชาชนสุขภาพดี ปลอดจากภาระโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้” ผู้ป่วย DM รายใหม่จาก Pre-DM ลดลง ผู้ป่วย HT รายใหม่จาก Pre-HT ลดลง ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรอง CVD Risk ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เพิ่มขึ้น ผู้ป่วย HT ควบคุมระดับความดันได้ดี เพิ่มขึ้น ลดเสี่ยง (กลุ่มปกติ) ลดป่วย (กลุ่มเสี่ยง) ลดภาระโรค และลดตายก่อนวัยอันควร (กลุ่มป่วย) เป้าหมาย 4.การเฝ้าระวัง และติดตามประเมินผล (Surveillance and M&E) 1.การนำขับเคลื่อนนโยบายและสร้างพันธมิตรความร่วมมือ (Policy & Advocacy) 3.เสริมสมรรถนะ ของระบบบริการสุขภาพ(Strengthen Health System) 2.ส่งเสริมสุขภาพ และลดความเสี่ยง (Promotion and Risk Reduction) P S มาตรการ : 2P2S

13 ชุดกิจกรรม ภายใต้มาตรการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
P P S S มาตรการ 1. การนำขับเคลื่อนนโยบายและสร้างพันธมิตรความร่วมมือ (Policy & Advocacy) มาตรการ 2. ส่งเสริมสุขภาพ และลดความเสี่ยง (Promotion and Risk Reduction) มาตรการ 3. เสริมสมรรถนะ ของระบบบริการสุขภาพ(Strengthen Health System) มาตรการ 4. การเฝ้าระวัง และติดตามประเมินผล (Surveillance and M&E) สื่อสารประชาสัมพันธ์ โรค NCDs - รณรงค์สื่อสาร วันสำคัญ “ชุมชนต้นแบบลดเค็ม” ภายใต้ ยุทธศาสตร์ลดบริโภคเกลือและโซเดียมฯ ชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ (CBI-NCDs) STOP CVD CVD CKD Preventive Clinic Award NCD Forum NCD Clinic Plus ผลักดันยุทธศาสตร์ป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อ ( ) Application : เกมส์ ให้ความรู้โรค NCDs พัฒนาศักยภาพ ทีมสหวิชาชีพ Service Package : DM/HT ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย พัฒนา Dashboard BRFSS

14 สรุป แนวโน้มของกลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง เพิ่มขึ้น
กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ยังขาด การปรับพฤติกรรมที่ถูกต้อง หน่วยบริการมีขีดจำกัดในด้านการจัดการทรัพยากร การวินิจฉัยโรคร่วมหรือปัญหาสุขภาพอื่นๆ กระบวนการดูแลผู้ป่วย มีลักษณะแยกส่วน ขาดการ เชื่อมกันระหว่างงานบริการ เครือข่ายในพื้นที่ และ การจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับโรค

15 จุดเน้นที่หกก็จะเป็นเรื่องการควบคุมปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันโรค NCD
ซึ่งประกอบด้วยโครงการสำคัญๆ ได้แก่ โครงการโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ รวมถึงโรคมะเร็ง โรคไม่ติดต่อเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเกิดจากพฤติกรรม โดยเฉพาะพฤติกรรมส่วนบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มากเกินไป การสูบบุหรี่ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวานมันเค็มจัด การดำเนินการควรมุ่งเน้นที่การพยายามลดความเสี่ยงและป้องกันก่อนที่จะป่วย เพราะพวกเราคงรู้ดีครับว่าการป้องกันจะประหยัดกว่าการรักษา ตัวอย่างง่ายๆ เลยคือการป้องกันโรคไตวาย ถ้าเราสามารถจัดการกับสาเหตุได้ดี นั่นคือ การควบคุมเบาหวาน และช่วยป้องกันหรือชะลอการเกิดไตวายได้ ก็จะช่วยในให้ระบบสุขภาพประหยัดเงินในการดูแลรักษา ฟอกไต ล้างไต ให้กับคนไข้ไตวายได้ปีละหลายร้อยล้านบาท

16


ดาวน์โหลด ppt นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google