เทคนิคการบริหารหลักสูตร เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน หลักสูตร คณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
QA สัญจร ประจำปี 2560 วันที่ 9-10 มีนาคม 2560.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
หลักเทคนิคการเขียน SAR
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการบริหารหลักสูตร เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ

เทคนิคการบริหารหลักสูตรเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ อาจารย์ประจำหลักสูตร คุณภาพหลักสูตร ระบบบริหารหลักสูตร ระบบคุณภาพความเป็นเลิศ

Objective Self reflection Competency of full-time program instructor Quality of program ????? Self assessment report – TQF 7 Achievement verification

อาจารย์ประจำหลักสูตร KM - Knowledge Management อาจารย์ประจำหลักสูตร

อาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน คุณวุฒิ ตำแหน่งวิชาการ Performance Job description

อาจารย์ประจำหลักสูตร Job description บริหารจัดการหลักสูตร รับผิดชอบ ประเมินหลักสูตร ปรับปรุงพัฒนา

Program Assurance Quality control Quality audit Quality assessment

How to do program assurance เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ปี ๒๕๔๘ + 2558 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ปี ๒๕๕๒ คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี ๒๕๕๗

ระดับการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ระดับคณะ ระดับสถาบัน

ในการพัฒนาตัวบ่งชี้รอบใหม่ กรอบแนวคิด ในการพัฒนาตัวบ่งชี้รอบใหม่

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 หลักการ 1. ให้ สกอ. ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี ตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพ โดยกลไกการตรวจเยี่ยมตามระบบพิชญพิจารณ์ (Peer Review) ส่วนระดับคณะและสถาบันให้อยู่ในการกำกับดูแลของสภาสถาบัน 2. ดำเนินการตามข้อ 1 กับหลักสูตรในสาขาวิชาที่มีประกาศ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ในช่วงระหว่างพ.ศ.2552 - 2555 จำนวน 11 สาขาวิชา 3. ให้ สกอ. ใช้ผลการรับรองหลักสูตรที่สภาวิชาชีพมีระบบในการกำกับดูแลที่สอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรของ สกอ. แทนผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ในกรณีนี้จะเป็นไปตามที่ กกอ. ให้ความเห็นชอบเท่านั้น 4. หลักสูตรใดที่ได้รับการประเมินและได้รับการรับรองจากหน่วยงานประเมินระดับนานาชาติ เช่น ผลการประเมินหลักสูตรของ AUN QA ผลการประเมินหลักสูตรวิชาชีพที่ได้รับการรับรองจากองค์การวิชาชีพระดับนานาชาติ เช่น AACSB (สำหรับหลักสูตรทางด้านบริหารธุรกิจ) ABET (สำหรับหลักสูตรทางด้านวิศวกรรมศาสตร์) ให้ ม/ส จัดทำรายงานเฉพาะข้อมูลพื้นฐานผ่านระบบ CHE QA Online ในกรณีนี้จะเป็นไปตามที่ กกอ. ให้ความเห็นชอบเท่านั้น

กรอบเวลาการประเมิน ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ( สค. ๕๘ – กค. ๕๙) ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ( ตค. ๕๘- กย.๕๙) ปีปฏิทิน ๒๕๕๘

การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร องค์ประกอบในการประกันคุณภาพหลักสูตรประกอบด้วย 1. การกำกับมาตรฐาน 2. บัณฑิต 3. นักศึกษา 4. อาจารย์ 5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

วิสัยทัศน์ + พันธกิจ +แผนดำเนินการ (1) สถาบัน วิสัยทัศน์ + พันธกิจ +แผนดำเนินการ (1) ประกันคุณภาพ (9) ด้านวิชาการ (2-6) ด้านบริหาร (7) แผน (ประกันคุณภาพ) (1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) การเรียนการสอน (2+3) วิจัย (4) บริการวิชาการ (5) ทำนุบำรุงศิลปฯ (7) ผลงานประกันคุณภาพ ความรู้ IQ (2) วุฒิภาวะ EQ (3) คุณภาพของสถาบัน ที่พัฒนาขึ้น IPO IPO IPO IPO IPO แผน (การบริหาร)(1) ดำเนินการบริหาร ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย(งบประมาณ)(8) แผน (หลักสูตร)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (กิจการนักศึกษา)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (วิจัย)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (บริการวิชาการ)(1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) แผน (ทำนุฯ) (1) ดำเนินการ ตรวจสอบ+ประเมิน ปรับปรุง ปัจจัย (8) ผลงานบริหาร บัณฑิต ผลงานวิจัย ผลงานบริการวิชาการ ผลงานทำนุฯ บัณฑิต ความรู้คู่คุณธรรม ผลงานวิจัย ผลงานบริการวิชาการ ผลงานทำนุฯ

หลักสูตรที่มีคุณภาพ ??? นิยาม ???? องค์ประกอบ ???? ผลผลิต ???? เอกลักษณ์ ???

ระบบและกลไก ระบบ หมายถึง ระเบียบหรือความเชื่อมโยงของขั้นตอน ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานดำเนินการลุล่วงไปได้อย่างราบรื่น เช่น การจัดระบบงานต่าง ๆ กลไก หมายถึง บุคลากร ทรัพยากร กฎเกณฑ์ กิจกรรม และหน่วยย่อยต่าง ๆ ที่สนับสนุนเชื่อมโยง ประสานสัมพันธ์ และเอื้ออำนวยให้การดำเนินภารกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงาน ดำเนินไปได้อย่างคล่องตัวสม่ำเสมอ และครบวงจรตามระบบที่ได้กำหนดไว้

อาจารย์ประจำหลักสูตร จะต้องทำอะไร??? ให้หลักสูตรมีคุณภาพ WHAT ?? WHEN ?? HOW TO ????

คุณภาพ หมายถึง สอดคล้องกับวิสัยทัศน์-พันธกิจ-วัตถุประสงค์ คุณภาพ หมายถึง สอดคล้องกับวิสัยทัศน์-พันธกิจ-วัตถุประสงค์ บรรลุเกณฑ์ที่ตั้งไว้(การเป็นไปตามข้อกำหนด) ความเป็นเลิศที่วัดได้ด้วยเกณฑ์ที่ตายตัว คุ้มค่ากับการลงทุน ความเหมาะสมกับสถานการณ์ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความพึงพอใจของลูกค้า

คุณภาพบัณฑิต Head Hand Heart Health Happiness Harmony

การเรียนการสอน กระบวนการ นักศึกษา บัณฑิต Cognitive - เดิม 1. หลักสูตร ครอบคลุมถึง วิธีการสอน+ปัจจัยสนับสนุน 2. อาจารย์ 3. นักศึกษา กระบวนการ นักศึกษา การเรียนการสอน บัณฑิต Cognitive - เดิม Affective - เดิม Psychomotor - เดิม Cognitive - ใหม่ Affective - ใหม่ Psychomotor - ใหม่

ประเมินผลสัมฤทธิ์ VS ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ อาจารย์ นักศึกษา ทำได้แล้ว สอนให้ทำแล้ว สอนแล้ว เรียนรู้แล้ว VS ประเมินผลสัมฤทธิ์ VS ทวนสอบผลสัมฤทธิ์

Quality is not a destination Quality is a Journey Quality is not a destination Indicator is a life

Quality assurance (การประกันคุณภาพ) Quality control - ควบคุมคุณภาพ Quality audit - ตรวจสอบคุณภาพ Quality assessment - ประเมินคุณภาพ Quality accreditation (การรับรองคุณภาพ)

Journey of QA Who are we ? Self Study Where do we want to go ? Goal Where are we now ? Input-resource ( Reality ) How do we get there ? Process What we have to do next? Action

Quality is a system of Transfer of trust Transfer of responsibility

Quality is dynamic stage ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ Social change Technology change Value change (cost-effectiveness) Customer satisfaction change (Needs, Expectation, Specification) Quality is dynamic stage

ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต คุณภาพของสถานศึกษา - ผลผลิตของสถานศึกษา 1. คุณภาพบัณฑิต ……? 2. คุณภาพงานวิจัย ……? 3. คุณภาพงานบริการวิชาการ ……? 4. คุณภาพงานทำนุบำรุงศิลปฯ ……? ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต

การประกันคุณภาพ ระดับหลักสูตร

แผนบริหารหลักสูตร ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐

แผนยกระดับคุณภาพหลักสูตร แผนพัฒนาหลักสูตร

ข้อเสนอแนะจาก ผลการประเมินหลักสูตร ในปีที่ผ่านมา ข้อเสนอแนะจาก ผลการประเมินหลักสูตร ในปีที่ผ่านมา แผน/โครงการ/กิจกรรม ที่จะดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ เมื่อไร (วัน/เดือน/ปี) ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6

SAR ระดับหลักสูตร มคอ 7

วิเคราะห์ผลของแต่ละกระบวนการ เป้าหมายเชิงปริมาณ เป้าหมายเชิงคุณภาพ 3.1 3.2 4.1 5.1 5.2 5.3 6.1

PDCA / PDLA นำ pdcaไปดำเนินการ ปรับปรุง pdca ตามผลการทบทวน กระบวนการวางแผน pdca+objective D นำ pdcaไปดำเนินการ C ประเมิน/ทบทวน/ศึกษา pdca A ปรับปรุง pdca ตามผลการทบทวน

มคอ. ๑ มคอ. ๒ มคอ. ๓ มคอ. ๔ มคอ. ๖ มคอ. ๕ มคอ ๗

มคอ ๑ What ? Who ? How to implement ?

มคอ ๒ What ? Who ? How to implement ?

มคอ ๓ What ? Who ? How to implement ? มคอ ๕

มคอ ๔ What ? Who ? How to implement ? มคอ ๖

มคอ ๗ What ? Who ? When ? How to implement ?

บัณฑิต กระบวนการเรียนรู้ นักเรียน กระบวนการหลัก นักศึกษา ปริมาณ คุณภาพ การรับเข้า การเตรียมความพร้อม กระบวนการหลัก ปริมาณ คุณภาพ นักศึกษา ปริมาณ คุณภาพ อาจารย์ หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ ปริมาณ คุณภาพ สิ่งสนับสนุน การประเมินผลการเรียนรู้ บัณฑิต การติดตามผลผลิต ปริมาณ คุณภาพ

บัณฑิต P D C A นักเรียน กระบวนการหลัก นักศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การรับเข้า การเตรียมความพร้อม PDCA P D C A กระบวนการหลัก ปริมาณ คุณภาพ นักศึกษา PDCA P D C A ปริมาณ คุณภาพ P D C A PDCA P D C A อาจารย์ หลักสูตร PDCA P D C A กระบวนการเรียนรู้ PDCA P D C A ปริมาณ คุณภาพ สิ่งสนับสนุน PDCA P D C A การประเมินผลการเรียนรู้ บัณฑิต PDCA P D C A การติดตามผลผลิต ปริมาณ คุณภาพ

การพิจารณาตัดสินผลการประเมินตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพในระดับหลักสูตร ที่เน้นกระบวนการ เพื่อให้ผู้ประเมินนำไปใช้ในการตัดสินผลการประเมินให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ตัวบ่งชี้กระบวนการ (3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2, 5.3 และ 6.1) หลักสูตรควรกำหนดผลลัพธ์ซึ่งแสดงคุณภาพที่ต้องการจากกระบวนการที่ได้ออกแบบ โดยอธิบายวิธีการดำเนินงานที่นำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ มีการทบทวน/ประเมิน/ศึกษา ผลการดำเนินงานที่เทียบกับผลลัพธ์ที่กำหนด หากหลักสูตรไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ให้อธิบายว่ามีการปรับปรุงวิธีการทำงานอย่างไร เพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ (หมายเหตุ: ให้พิจารณาผลการดำเนินงานในภาพรวม ไม่ควรพิจารณาแต่ละประเด็นย่อย และกรณีจะให้ คะแนนระดับ 4 หรือ5 ต้องมีคำอธิบายที่เห็นเป็น รูปธรรม)

เกณฑ์การประเมิน 1 2 3 4 5 ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก 1 2 3 4 5 ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน   มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ ไม่มีการปรับปรุง/ พัฒนา กระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ จากผลการประเมิน มีการนำระบบ กลไกไปสู่ การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม มีระบบ มีกลไก มีผลจากการปรับปรุง เห็นชัดเจนเป็น รูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดยมีหลักฐาน เชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

วิเคราะห์ผลของแต่ละกระบวนการ 3.1 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ........... 3.2 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ........... 4.1 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ........... 5.1 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ........... 5.2 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ........... 5.3 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ........... 6.1 ผลเชิงปริมาณ.............ผลเชิงคุณภาพ...........

ADLI - PDCA นำ pdcaไปดำเนินการ ปรับปรุง pdca ตามผลการทบทวน กระบวนการทำ – pdca+objective D นำ pdcaไปดำเนินการ L ประเมิน/ทบทวน/ศึกษา pdca I ปรับปรุง pdca ตามผลการทบทวน

3.1- 1 กระบวนการรับนักศึกษา P จัดทำกระบวนการ pdca + objective กระบวนการรับนักศึกษา D นำ pdca ปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdca ไปปรับปรุงให้บรรลุ objective

3.1 – 2 กระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา P จัดทำกระบวนการpdca +objective กระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา D นำกระบวนการpdca ไปปฏิบัติ C ประเมินกระบวนการpdca A นำผลจากการประเมินกระบวนการpdcaไปปรับปรุง

P D C A นำ pdca ไปปฏิบัติ จัดทำกระบวนการ pdca +objective 3.2 - 1 กระบวนการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมินกระบวนการpdca A นำผลจากการประเมินกระบวนการpdcaไปปรับปรุง

3.2 – 1 กระบวนการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ แก่บัณฑิตศึกษา 3.2 – 1 กระบวนการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ แก่บัณฑิตศึกษา P จัดทำ pdca +objective กระบวนการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ แก่บัณฑิตศึกษา D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdca ไปปรับปรุง

3.2-2 กระบวนการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ 21 P การจัดทำกระบวนการpdca +objective กระบวนการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ 21 D นำกระบวนการpdca ไปปฏิบัติ C ประเมินกระบวนการpdca A นำผลจากการประเมินกระบวนการpdca ไปปรับปรุง

4.1 - 1 กระบวนการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร D นำ pdcaไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdcaไปปรับปรุง

4.1 - 2 กระบวนการบริหารอาจารย์ P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการบริหารอาจารย์ D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdcaไปปรับปรุง

4.1 – 3 กระบวนการพัฒนาอาจารย์ 4.1 – 3 กระบวนการพัฒนาอาจารย์ P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการพัฒนาอาจารย์ D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdca ไปปรับปรุง

5.1 – สาระรายวิชา-ทุกปี (ปรับปรุงหลักสูตร ทุก๕ปี) P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการทบทวนสาระรายวิชา D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdca ไปปรับปรุง

5.2 - การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdca ไปปรับปรุง

P D C A 5.3 – การประเมินผู้เรียน จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการประเมินผู้เรียน D นำ pdca ไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdca ไปปรับปรุง

OLE (5.1+5.2+5.3) FAO Assessment for learning Assessment as learning Assessment of learning

6.1 ระบบสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน P จัดทำกระบวนการ pdca +objective กระบวนการจัดสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน D นำ pdcaไปปฏิบัติ C ประเมิน pdca A นำผลจากการประเมิน pdcaไปปรับปรุง

การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ WHY and HOW TO ศ. นพ.วุฒิชัย ธนาพงศธร

Authentic Assessment