ตำบลจัดการสุขภาพ ตามแนวทางการสาธารณสุขมูลฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำบลจัดการสุขภาพ ตามแนวทางการสาธารณสุขมูลฐาน โดย นาย จรุญ ไตรวุฒิ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ งานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต 6 ชลบุรี

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

Primary Health Care สสม. 4 ประการในประกาศ Alma – Ata 1) การมีส่วนร่วมของชุมชน (People participation = P.P หรือ Community Involvement = C.I) 2) การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology = A.T) 3) การปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐ เพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Reoriented Basic Health Service (BHS) หรือ Health Infrastructure 4) การผสมผสานกับงานสาขาอื่นของกระทรวงอื่นๆ (Intersectoral-Collaboration = 1C) WHO .Primary Health Care Report of the International Conference on Primary Health Care, Alma-Ata, USSR, 6-12 September 1978. whqlibdoc.who.int/publications/9241800011.pdf

อมร นนทสุต www.amornsrm.net

งานสาธารณสุขมูลฐาน งานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ การส่งเสริมสุขภาพอนามัย 1. โภชนาการ 2. สุขศึกษา 3. การจัดหาน้ำสะอาดและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 4. การอนามัยแม่และเด็ก และการวางแผนครอบครัว 5. สุขภาพจิต 6. ทันตสาธารณสุข 7. อนามัยสิ่งแวดล้อม http://phc.moph.go.th/www_hss/central/Intro1_3.php

งานสาธารณสุขมูลฐาน งานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง การป้องกันโรค 8. การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น 9. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 10. การคุ้มครองผู้บริโภค 11. การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ การรักษาพยาบาล 12. การรักษาพยาบาลเบื้องต้น 13. การจัดหายาที่จำเป็นไว้ใช้ในชุมชน การฟื้นฟูสภาพ 14. การป้องกันอุบัติเหตุและฟื้นฟูสภาพคนพิการ http://phc.moph.go.th/www_hss/central/Intro1_3.php

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม งานสาธารณสุขมูลฐาน งานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง การเฝ้าระวัง คัดกรอง มาตรการทางสังคม การอนามัยแม่และเด็ก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการของชุมชน

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

(Rajput et al., 2012) PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. แนวทางการขับเคลื่อนตำลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน 2559

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ตำบลที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน ท้องถิ่น และทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่น ที่มีบูรณาการร่วมกัน ช่วยกันค้นหา หรือกำหนดปัญหาสุขภาพ กำหนดอนาคต ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาด้านสุขภาพและมาตรการทางสังคม รวมทั้งนวตกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนักสาธารณะ โดยเน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกัน มีการส่งเสริมกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน โดยการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เพื่อการพึ่งพาตนเองและรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อลดปัญหาและปัจจัยเสี่ยงในด้านพัฒนาการเด็ก อุบัติเหตุ โรคไม่ติดต่อเรื่อรัง ผู้สูงอายุ และปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและยั่งยืน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. แนวทางการขับเคลื่อนตำลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน 2559

สภาพปัญหา ความเป็นมาของ โครงการตำบลจัดการสุขภาพ การเข้าถึงบริการสุขภาพในทุกระดับไม่เท่าเทียมกัน เกิดความเหลื่อมล้า ขาดโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ปัญหาด้านพฤติกรรมสุขภาพทำให้โรคติดต่อไม่เรื้อรังมีแนวโน้มสูงขึ้น การมีส่วนร่วมด้านสุขภาพของชุมชน ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ ขาดการบูรณาการและพลังในการพัฒนา

แนวคิดโครงการตำบลจัดการสุขภาพ สร้างเครือข่ายความร่วมมือแบบผสมผสานจากหลายภาคส่วน (Multisectoral Collaboration) เน้นเอาชุมชนและพื้นที่เป็นตัวตั้ง แทน ปรับเปลี่ยนการพัฒนาจากแนวดิ่งสู่ประชาชน (Vertical and Top-down Development Approach) เป็นจากรากฐานของสังคมและชุมชน สะท้อนขึ้น สู่ระดับประเทศ(Community –Based and Bottom up Development Approach) สนับสนุนการพัฒนาในมิติอื่นๆ เช่น มิติด้านสังคม มิติด้านการศึกษา และมิติด้านเศรษฐกิจเพื่อการสร้างรายได้ที่เหมาะสม แก้ไขปัญหาความยากจน เกิดเป็นระบบสุขภาพชุมชนที่ครอบคลุมถึงสุขภาวะและความมั่นคงในชีวิตได้อย่างยั่งยืนเป็นการปลูกฝังประชาธิปไตยให้กับประชาชน PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

มาตรการ สื่อสารแนวทาง กำหนดเป้าหมาย 2. จัดตั้งและพัฒนาทีมสุขภาพตำบลขับเคลื่อนการดำเนินการ ทุกกลุ่มวัย -ทีมพี่เลี้ยง อำเภอละ 3คน (3,000คน) -อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน ตำบลละ 10คน (72,550คน) -อสค.ตำบลละ 12 คน (86,700 คน) 3. จัดทำแผนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุม ทุกกลุ่มวัย 4. ขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุม ทุกกลุ่มวัย 5. สรุปผลการดำเนินงานให้เห็นผลลัพธ์การพัฒนาตามกลุ่มวัย 6. M&E และรับรองผลตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

เป้าหมาย 1. ดำเนินการในทุกตำบลตามเขตการปกครอง76จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จานวน7,255ตำบล (ร้อยละ 100) 2. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการผ่านเกณฑ์ (ระดับดีขึ้นไป) ร้อยละ 70 จานวน 5,079 ตำบล   ปีงบประมาณ 60 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 ร้อยละ 100 ระดับดีมาก ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 ร้อยละ 95

กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 5) ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ (ระดับดีเยี่ยม) 4) ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง (ระดับดีมาก) 3) การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ (ระดับดี) 2) การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล (ระดับพัฒนา) 1) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล (ระดับพื้นฐาน)

กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 1) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล (ระดับพื้นฐาน) 1.1 มีองค์ประกอบเครือข่าย 1.2 มีการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตำบล 1.3 มีการพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพตำบล 1.4 มีการพัฒนาความรู้ อสม. 1.5 มีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทุนของวิสาหกิจชุมชน 2) การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล (ระดับพัฒนา) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐานครบทุกข้อ) 2.1 มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูล 2.2 มีการคืนข้อมูลสถานะสุขภาพ 2.3 มีการร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพตำบล 2.4 มีการระดมทรัพยากร ทุน และภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.5 มีการวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน

กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 3) การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ (ระดับดี) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในดับพื้นฐานและระดับพัฒนาครบทุกข้อ) 3.1 Care manager Care giver หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (LTC) 3.2 มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของผู้สูงอายุ 3.4 มีชุมชน/ท้องถิ่น/อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน/อสค. 3.5 วิสาหกิจชุมชน 4) ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง (ระดับดีมาก) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา และระดับดี ครบทุกข้อ) 4.1 มีระบบการส่งเสริมสุขภาพ 4.2 มีข้อมูลที่จำเป็น 4.3 มีการสรุปประเมินผล 4.4 มีผลลัพธ์ของการพัฒนา 4.5 มีวิสาหกิจชุมชนพื้นฐาน

กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 5) ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ (ระดับดีเยี่ยม) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา ระดับดี และระดับดีมากครบทุกข้อ) 5.1 มีวิทยากรชุมชน 5.2 มีการสรุปบทเรียนการพัฒนา 5.3 มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 5.4 มีผลกระทบของการพัฒนาทำให้ปัญหาสุขภาพ ใน ทุกกลุ่มวัย และปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ลดลง 5.5 มีวิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า

วิธีการจัดเก็บข้อมูล รายงานผ่านเว็บไซต์กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน www.thaiphc.net

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

โอกาสในการพัฒนา 1.กำหนดนโยบายให้เกิดความร่วมมือการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพทุกระดับอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็งและสามารถจัดการตนเองไปสู่เป้าหมายสุขภาพดีอย่างยั่งยืน 2.ผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง และระดับประเทศ เนื่องจาก การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ สามารถบูรณาการการทำงานและสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ 3.กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทเป็นผู้สนับสนุนหลัก PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์

เชื่อมั่น และ ทำให้เป็นจริง อมร นนทสุต