ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
20 ปี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment) (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ อันดับที่ 69 ของหน่วยราชการ.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564)

แตกต่างจากยุทธศาสตร์ชาติฯ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 แตกต่างจากยุทธศาสตร์ชาติฯ ที่ผ่านมาอย่างไร? ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3

ไทยทั้งชาติต้านทุจริต ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 วิสัยทัศน์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero tolerance & Clean Thailand) ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีวินัย และยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม ทุกภาคส่วนร่วมป้องกัน และปราบปรามการทุจริต

ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต วิสัยทัศน์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand)

สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต พันธกิจ สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล

ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริต เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่าร้อยละ 50

วิสัยทัศน์   ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) พันธกิจ : สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่าร้อยละ 50 วัตถุประสงค์ที่ 1 สังคมมีพฤติกรรม ร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง วัตถุประสงค์ที่ 2 เกิดวัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) มุ่งต้านการทุจริตในทุกภาคส่วน วัตถุประสงค์ที่ 3 การทุจริตถูกยับยั้งอย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรม กลไกป้องกันการทุจริตและระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ที่ 4 การปราบปรามการทุจริตและการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรมและได้รับความร่วมมือจากประชาชน วัตถุประสงค์ที่ 5 ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมีค่าคะแนนในระดับที่สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปราม การทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย

ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งเน้นปลูกฝังจิตสำนึก ปรับฐานคิด พัฒนาหลักสูตร/บทเรียน/การเรียนการสอน/การถ่ายทอด ในทุกระดับ พัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และประกาศใช้อย่างจริงจัง 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อต่อต้านการทุจริต 1. ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต สร้างชุมชนเฝ้าระวัง ต่อต้านการทุจริต Social Sanction 2. ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการ กล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต 3. ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต กล่อมเกลาทางสังคมทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัย พัฒนานววัตกรรมสื่อการเรียนรู้ พัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ สื่อสารทางสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสริมบทบาทสื่อมวลชนและองค์กรวิชาชีพ พัฒนามาตรวัดทางสังคม ปรับใช้ในการกล่อมเกลา พัฒนาหลักสูตร/ปรับรูปแบบและวิธีการนำเสนอ พัฒนาระบบและองค์ความรู้

ในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 กำหนดให้นักการเมืองต้องแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต จัดทำเอกสารแสดงเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองและเผยแพร่ให้แก่ประชาชน 1.พัฒนากลไกการกำหนดให้นักการเมืองแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตต่อสาธารณชน 2. เร่งรัดการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและ เจ้าหน้าที่รัฐในทุกระดับ 6. ประยุกต์นวัตกรรมในการกำกับดูแลและควบคุมการดำเนินงานตามเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองที่ได้แสดงไว้ต่อสาธารณะ ศึกษาและกำหนดแนวทาง/ขั้นตอนการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ กำหนดพรรคการเมืองแสดงแนวทางนโยบาย/งบระมาณ ก่อนการเลือกตั้ง จัดทำระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามโครงการ ที่ดำเนินการตามนโยบายของพรรคการเมือง ยกระดับเจตจำนง ทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริต 3. สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนกำหนดกลยุทธ์ และมาตรการสำหรับเจตจำนงในการต่อต้านการทุจริต 5. ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนต่อต้าน การทุจริตสำหรับภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยรัฐให้การสนับสนุนทุนตั้งต้น ศึกษา/วิเคราะห์แนวทางปฏิบัติทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น ประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วน เสริมเจตจำนงทางการเมืองในระดับประชาชน 4.พัฒนาระบบการบริหารงบประมาณด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตเพื่อให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจำปีที่มีสัดส่วนเหมาะสมกับการแก้ปัญหา ศึกษาแนวทาง พัฒนาตัวแบบกองทุน ศึกษาวิเคราะห์แนวทาง/จัดทำแผนการปฏิรูประบบการจัดสรรงบประมาณ

1. วางมาตรการเสริมในการสกัดกั้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 1. วางมาตรการเสริมในการสกัดกั้น การทุจริตเชิงนโยบายบนฐานธรรมาภิบาล ขั้นการก่อตัวนโยบาย (Policy formation) ขั้นการกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) ขั้นตัดสินใจนโยบาย (Policy Decision) ขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ขั้นการประเมินนโยบาย (Policy Evaluation) 4. ส่งเสริมให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ติดตาม และตรวจสอบ การทุจริตเชิงนโยบาย ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาวิเคราะห์/เผยแพร่องค์ความรู้ตรวจสอบ นโยบายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย การตรวจสอบแนวนโยบายหาเสียงของพรรคการเมือง เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงของนโยบาย Policy Risk Indicator (PRI) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารนโยบาย พัฒนากรอบกำหนดนโยบาย พัฒนาแนวปฏิบัติการยอมรับนโยบายและรับผิดชอบสังคม วิเคราะห์ความเสี่ยงและการใช้จ่ายงบประมาณ เสริมสร้างความโปร่งใสกระบวนการพิจารณากฎหมาย กำหนดบทลงโทษฝ่าฝืนจริยธรรม สร้างกลไกตตรวจสอบฝ่ายบริหาร พัฒนานวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความโปร่งสา บูรณาการรติดตามนโยบาย 3. การพัฒนานวัตกรรมสำหรับการรายงานและตรวจสอบธรรมาภิบาลในการนำนโยบายไปปฏิบัติ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใช้ติดตาม และตรวจสสอบนโยบายรัฐ 2. การรายงานผลสะท้อนการสกัดกั้น การทุจริตในวงจรนโยบาย (Policy cycle feedback) จัดตั้งหน่วยงานกลางการบูรณาการและประมวลผลข้อมูล

1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต 2. สร้างกลไกการป้องกันเพื่อยับยั้งการทุจริต ระบบงาน แนวคิด มาตรการ 8. การพัฒนาระบบและส่งเสริมการดำเนินการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 เครื่องมือ/กลไกในการตรวจสอบ/ยับยั้ง 3. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปัญหาการทุจริต นโยบายแนวปฏิบัติ ปรับปรุงประมวลจริยธรรม แนวทางจัดซื้อจัดจ้าง แลกเปลี่ยนข่าวสาร พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก Online Public Sector Trends 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารสาธารณะ เชิงสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้ เชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรด้านการป้องกันการทุจริต 5. การพัฒนา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย Marketing in Public Sector Content Theme Creative Thinking Competency Trends 6. สนับสนุนให้ภาคเอกชนดำเนินการตามหลักบรรษัทภิบาล Cooperate Governance พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน/บูรณาการระบบประเมิน

ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 5 2. ปรับปรุงการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สิน 1. ปรับปรุงระบบรับเรื่องร้องเรียนการทุจริต ให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้อง (smart audit system) กำหนดกลุ่มเป้าหมาย การปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบให้กระบวนการมีประสิทธิภาพ สร้างความเชื่อมั่น เชื่อมโยงการข่าวและฐานข้อมูล เพื่อลดความล่าช้า ซ้ำซ้อน 9. เพิ่มประสิทธิภาพ ในการดำเนินคดีทุจริตระหว่างประเทศ 3. ปรับปรุงกระบวนการและพัฒนากลไกพิเศษในการปราบปรามการทุจริตที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 8. การเปิดโปงผู้กระทำความผิดให้สาธารณชนรับทราบและตระหนักถึงโทษของการกระทำการทุจริตเมื่อคดีถึงที่สุด Fast track ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปรามการทุจริต 4. ตรากฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายในการปราบปรามการทุจริตให้เท่าทันต่อพลวัตรของการทุจริตและสอดคล้องกับสนธิสัญญาและมาตรฐานสากล 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสหวิทยาการของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต ศึกษาและวิเคราะห์ปรับปรุงกฎหมาย จัดลำดับความเสียหาย/เร่งด่วน/ความถี่ บูรณาการหน่วยงานตรวจสอบถ่วงดุล พัฒนาองค์ความรู้/ทักษะ/ขีดความสามารถ แลกเปลี่ยน/การเสริมความรู้ในรูปแบบสหวิชาการ สร้างระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) 5. บูรณาการข้อมูลและข่าวกรองในการปราบปรามการทุจริต 6.การเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองพยานและผู้แจ้งเบาะแส และเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต พัฒนาระบบฐานข้อมูล จัดตั้งศูนย์กลางข่าวกรอง (Intelligence agency) ร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองร่วมกับสื่อ/ภาคประชาสังคม Whistleblower , คุ้มครองเจ้าหน้าที่ , กำหนดรางวัลแจ้งเบาะแส

2. บูรณาการเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 6 2. บูรณาการเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เพื่อยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย 1. ศึกษา และกำกับติดตาม การยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย วิเคราะห์และเชื่อมโยงเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติฯ จัดทำ Strategy Map กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการ ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย ศึกษาระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) ของแหล่งข้อมูล ที่ใช้สำหรับการจัดอันดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งรัด และกำกับ ติดตามการดำเนินการ การจัดการการรับรู้ (Perceptions)

ยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เลขที่ 361 ถนนนนทบุรี ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 หรือ ตู้ ปณ.100 เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ 02 528 4800 – 49 www.nacc.go.th ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564)

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564) ยุทธศาสตร์ชาติ

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 ดาวน์โหลดยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) ที่เว็บไซต์ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข www.stopcorruption.moph.go.th ด้านการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ  ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564) ยุทธศาสตร์ชาติ