งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

20 ปี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "20 ปี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 20 ปี 1 2 3 4 5 6 ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ความมั่นคง 1 ความสามารถการแข่งขัน 2 พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพคน 3 สร้างโอกาส ความเสมอภาค 4 เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5 ปรับสมดุล ระบบบริหารรัฐ 6 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 1 ความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจ 3 ความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ 7 พัฒนาภาค เมือง พื้นฐานเศรษฐกิจ 9 ลดความเหลื่อมล้ำ 2 เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4 บริหารจัดการภาครัฐ ป้องกันทุจริตสร้างธรรมาภิบาล 6 พัฒนาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม 8 สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ 10 ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม 20 ปี ป้องกันปราบปรามยาเสพติด สร้างความปลอดภัยสงบสุข อำนวยความยุติธรรม พัฒนากฎหมายและกระบวนการ ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม สร้างความปรองดองสมานฉันท์ 1 2 3 4 5 6 ยุทธศาสตร์ชาติป้องกันทุจริต ระยะ 3 สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก กลไกและกระบวนการปราบปราม ยกระดับค่าคะแนน CPI ปลูก ป้อง ปราบ 1 2 3 4 5 6 แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ วางระบบรากฐานเสริมสร้างคุณธรรม สร้างความเข้มแข็งระบบบริหารจัดการ สร้างเครือข่ายส่งเสริมคุณธรรม ไทยเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม AEC/ประชาคมโลก 1 2 3 4 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน คณะกรรมการจริยธรรมประจำส่วนราชการ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พรก.บริหารบ้านเมืองที่ดี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล กำหนดมาตรการป้องกัน 2 ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 3 สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ 4

3 ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ระยะที่ 3 (พ.ศ – 2564) วิสัยทัศน์ : ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) พันธกิจ : สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบให้มีมาตรฐานสากล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index : CPI) สูงกว่าร้อยละ 50 แนวทางที่ 1 ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก ให้มีความซื่อสัตย์สุจริต แนวทางที่ 2 ป้องกันการทุจริตเชิงรุก แนวทางที่ 3 ปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง ในการต่อต้าน การทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ การป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการปราบปราม การทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริตของประเทศไทย

4 ตัวชี้วัดแนวทาง 6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ หน่วยงานเจ้าภาพ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หน่วยงานอิสระของรัฐ. งบประมาณปี พ.ศ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย 61 62 63 64 44   47 50  >50 65 66 67 68 69  55 70 71 72 73 74  60 75 76 77 78 79  65 เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 3 เพิ่มคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริตให้สูงขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 3.1 ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริตสูงกว่าร้อยละ 50 เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์จัดสรร งปม. ปี 62 6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 6.4 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลสัมฤทธิ์/Impact ภาคราชการมีการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบดีขึ้น เป้าหมายแผน บูรณาการ/Outcome 1. สังคมไทยมีภาพลักษณ์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตดีขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมายแผนบูรณาการ 1.1 ประเทศไทยได้รับการประเมินค่าดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) สูงกว่าร้อยละ 47 ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก ให้มีความซื่อสัตย์สุจริต เจ้าภาพ : ก.พ. / ป.ป.ช./ กระทรวงศึกษาธิการ ป้องกันการทุจริตเชิงรุก เจ้าภาพ : ก.พ.ร. / ป.ป.ท. / ป.ป.ช. ปราบปรามการทุจริต เจ้าภาพ : ป.ป.ช. / ป.ป.ท. แนวทาง ตัวชี้วัดแนวทาง ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมเข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันให้เกิดสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มีค่านิยมร่วมต้านทุจริต มีจิตสำนึกสาธารณะ และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละของหน่วยงานมีการจัดทำมาตรการ/แนวทางตามแผนแม่บทบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) แล้วเสร็จ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ค่าคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน (ITA) ปี 2562 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 (ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ บุคคลและองค์กรธุรกิจที่มีการให้สินบนหรือถูกเรียกสินบนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐในปีที่ผ่านมาลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละของเรื่องกล่าวหาร้องเรียน ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมายร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - จำนวนเรื่องกล่าวหาร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบของภาครัฐลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 10

5 ป้องกันการทุจริตเชิงรุก เจ้าภาพ : ก.พ.ร. / ป.ป.ท/ ป.ป.ช.
แนวทาง ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก ให้มีความซื่อสัตย์สุจริต เจ้าภาพ : ก.พ. / ป.ป.ช. / กระทรวงศึกษาธิการ ป้องกันการทุจริตเชิงรุก เจ้าภาพ : ก.พ.ร. / ป.ป.ท/ ป.ป.ช. ปราบปรามการทุจริต เจ้าภาพ : ป.ป.ช. / ป.ป.ท. ห่วงโซ่คุณค่า ต้นน้ำ พัฒนาหลักสูตรกระบวนการคิด กลางน้ำ ดำเนินการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ปลายน้ำ สร้างความร่วมมือและเครือข่าย ต้นน้ำ พัฒนา วิเคราะห์ วางระบบมาตรการ แนวทาง กลไก กลางน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพกลไกสู่การปฏิบัติ ปลายน้ำ ลดการทุจริต ในตำแหน่ง หน้าที่และสินบน ต้นน้ำ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินคดี กลางน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินคดี ปลายน้ำ สื่อสารการรับรู้ผลของคดี โครงการ โครงการสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต โครงการสร้างกลไก/มาตรการ/แนวทางป้องกันการทุจริต โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานคดี กิจกรรม พัฒนาระบบ การรับรู้ ปลูกฝังความซื่อสัตย์ ป้องกันการทุจริต พัฒนาบุคลากร สร้างคู่มือ หลักสูตร กรอบแนวคิด ทุกภาคส่วนสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม เกิดเครือข่าย ที่ไม่ทนต่อการทุจริต การกำหนดมาตรการ กลไก แนวทาง ข้อเสนอแนะ ในการต่อต้านการทุจริต การพัฒนายกระดับ ค่า ITA การเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าที่ ของรัฐลดลง ปรับปรุง ประสิทธิภาพ การดำเนินคดียกระดับศูนย์รับเรื่องร้องเรียน พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการปราบปราม การทุจริตเพื่อบูรณาการ การทำงานตามรัฐธรรมนูญ สื่อสารการรับรู้ผลของคดี โครงการ/กิจกรรม 1. โครงการโรงเรียน/ท้องถิ่นสุจริต (ศธ.) 2. โครงการพัฒนาหลักสูตรการแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม (กพ.) 3. โครงการจิตพอเพียงต้านทุจริต (ทุกหน่วยงาน) 4. โครงการแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม (ทุกหน่วยงาน + ปปช. 49 จังหวัด) 5. โครงการฝึกอบรมบุคลากร ผู้สอนวิชาต่อต้านการทุจริต (ศธ./สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทุกสังกัด) 1. โครงการศึกษาวิเคราะห์มาตรการ แนวทางการป้องกัน การทุจริตในหน่วยงาน (ทุกหน่วยงาน) 2. โครงการบูรณาการความร่วมกับหอการค้าไทย (ป.ป.ช. ส่วนกลาง) 3. โครงการการตรวจสอบประเมินความเสี่ยงการทุจริตและป้องกันการทุจริต (ทุกหน่วยงาน) 4. โครงการสัมมนาจัดทำมาตรการ/แนวทางตามแผนบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ทุกหน่วยงาน) 5. โครงการข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact) (กรมบัญชีกลาง/ทุกหน่วยงาน) 6. โครงการสร้างการรับรู้สิทธิ์ในการป้องกันการทุจริตตามรัฐธรรมนูญ (กกต. กสม. มท.) 7. โครงการให้ความรู้การส่งเสริมให้นิติบุคคลป้องกันการให้สินบน ตามมาตรา 123/5 (ทุกหน่วยงาน) 1. โครงการพัฒนาศักยภาพของศูนย์รับเรื่องร้องเรียน การทุจริต 2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่ด้านการปราบปรามการทุจริต 3. โครงการพัฒนาสื่อสาธารณะเพื่อการต่อต้านการทุจริต 4. โครงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 5. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศมาตรฐานและกลไกกำกับติดตามการบริหารการดำเนินคดีทุจริตทั้งระบบ (จากชุดโครงการสหยุทธ์) 6. โครงการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต (จากชุดโครงการสหยุทธ์)

6 (ร่าง) แผนพัฒนาการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
พ.ศ – 2565 วิสัยทัศน์ : การจัดการภาครัฐมีธรรมาภิบาล ควบคุมการทุจริตภาครัฐได้ พันธกิจ : 1. ส่งเสริมการปฏิบัติงานที่มีธรรมาภิบาลในหน่วยงานของรัฐ 2. เสริมสร้างสมรรถนะของบุคลากร พัฒนาองค์ความรู้ มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรม แก่บุคลากรภาครัฐ 3. ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย เพื่อลดและปิดโอกาสการทุจริตในภาครัฐ 4. เสริมสร้างประสิทธิภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคมในเชิงบูรณาการ 5. ส่งเสริมและปรับปรุงโครงสร้างและกลไกในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ต้องมีธรรมาภิบาลเป็นหลักการพื้นฐาน และการทุจริตในภาครัฐต้องลดลงจนอยู่ในระดับที่สามารถควบคุมความรุนแรงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการบริหารงานภาครัฐปลอดจากการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมประชาชนร่วมมือต่อสู้กับการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากฎหมายเพื่อปิดช่องไม่ให้มีการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพปราบปรามและบังคับใช้กฎหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 5 บริหารจัดการให้หน่วยงานภาครัฐมีความเข้มแข็ง

7 แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ กระทรวงยุติธรรม
ปี 2560 – 2564 วิสัยทัศน์ : กระทรวงยุติธรรมเป็นองค์กรบริหารความยุติธรรมด้วยหลักธรรมาภิบาลร่วมต่อต้านการทุจริต พันธกิจ : 1. ส่งเสริมการบริหารและการปฏิบัติงานที่มีธรรมาภิบาลของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ทุกระดับในสังกัด ยธ. 2. เสริมสร้างสมรรถนะองค์ความรู้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานคุณธรรมจริยธรรมแก่บุคลากรในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการป้องกันปราบปรามการทุจริต 4. ส่งเสริมพัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการด้านการป้องกันปราบปรามการทุจริตของกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ : 1. ผู้บริหารและบุคลากรในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีสมรรถนะองค์ความรู้ ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม สามารถบริหารและปฏิบัติงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลเป็นหลักการพื้นฐาน 2. ประชาชนเข้าถึงความเป็นธรรม สังคมเต็มใจร่วมมือและเชื่อมั่นต่อกระทรวงยุติธรรมในการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ทุกระดับในสังกัดกระทรวงยุติธรรมที่เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมผลักดันให้เกิดสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. กระทรวงยุติธรรมเป็นองค์กรที่บริหารและดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล 3. ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีค่าคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 4. ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีมาตรการ/แนวทางตามยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายของรัฐบาลด้านการป้องกันปราบปรามการทุจริต 5. มีภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันปราบปรามการทุจริตเพิ่มมากขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ การป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการปราบปราม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต

8 ปี 2562 ปี 2563 งบประมาณ งบบูรณาการต่อต้านการทุจริต2.6896 ล้านบาท
งบบูรณาการต่อต้านการทุจริต ล้านบาท (ศปท. / กค. / กจ.) งบพื้นฐานของหน่วยงาน ปี 2563 งบบูรณาการต่อต้าน การทุจริต ......???......ล้านบาท - งบพื้นฐานของหน่วยงาน

9 ปลูกฝังวิธีคิดสร้างจิตสำนึก
1 ปลูกฝังวิธีคิดสร้างจิตสำนึก CONCEPT : กิจกรรมที่มีลักษณะสร้างจิตสำนึก การแสดงเจตจำนงไม่ทน ต่อการทุจริต การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หลักธรรมาภิบาล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต จิตอาสา มุ่งเน้นดำเนินกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย EXAMPLE : - โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม - โครงการเผยแพร่ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน - โครงการสรรหาข้าราชการเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ - โครงการปลูกจิตสำนึก สร้างวัฒนธรรมพอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา - โครงการ/กิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา

10 เสริมสร้างธรรมาภิบาลกำหนดมาตรการป้องกัน
2 เสริมสร้างธรรมาภิบาลกำหนดมาตรการป้องกัน CONCEPT : กิจกรรมที่มีลักษณะเป็นการกำหนดนโยบาย มาตรการ แนวทาง วิธีการ รวมถึงรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริต ส่งเสริมธรรมาภิบาล เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ภายในหน่วยงาน EXAMPLE : - โครงการจัดทำมาตรฐานโปร่งใส - การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ - โครงการเสริมสร้างองค์ความรู้มาตรการป้องกันการทุจริต สินบน ผลประโยชน์ทับซ้อน - โครงการถอดบทเรียนเพื่อจัดทำมาตรการป้องกันการทุจริต - โครงการเผยแพร่รณรงค์ ประชาสัมพันธ์...... - การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร

11 ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
3 ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ CONCEPT : กิจกรรมที่มีลักษณะดำเนินการปราบปรามการทุจริตเชิงรุก การดำเนินการทางวินัย การดำเนินการกรณีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับ การทุจริต ประพฤติมิชอบ ฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน EXAMPLE : - โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อร้องเรียนด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ - โครงการฝึกอบรมการสืบสวนข้อเท็จจริงกรณีการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ - การดำเนินมาตรการทางวินัยและข้อร้องเรียน - การดำเนินการตามกรณีฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน

12 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ
4 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ CONCEPT : กิจกรรมที่มีลักษณะสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างบุคลากร ในหน่วยงาน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ประชาสังคม บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ EXAMPLE : - การจัดตั้งชมรมป้องกันการทุจริต - การจัดตั้งชมรมจิตอาสา - การทำข้อตกลงความร่วมมือในการป้องกันการทุจริต ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมระหว่างหน่วยงาน

13 WORK SHOP

14 ขอความอนุเคราะห์นำเสนอโครงการ/กิจกรรม ประกอบการจัดทำแผนป้องกันปราบปรามการทุจริต ปี 2562 พร้อมนำเสนอ
โครงการ กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ งบบูรณาการ บาท งบหน่วยงาน บาท หน่วยงาน สำนักงานปลัดฯ (กอง ) 1 บัตรคำ ต่อ 1 โครงการ เขียนเสร็จแล้วให้นำบัตรคำ แปะลงใน flipchart โดยพิจารณาว่าโครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินงานด้านใด ให้แปะลงในด้านนั้น

15 เสริมสร้างธรรมาภิบาล
ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 3 เสริมสร้างธรรมาภิบาล กำหนดมาตรการป้องกัน 2 สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ 4

16 WORK SHOP

17 ขอความอนุเคราะห์นำเสนอโครงการ/กิจกรรม ประกอบการจัดทำ
กรอบคำของบประมาณป้องกันปราบปรามการทุจริต ปี 2563 พร้อมนำเสนอ โครงการ กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ งบบูรณาการ บาท งบหน่วยงาน บาท หน่วยงาน สำนักงานปลัดฯ (กอง ) 1 บัตรคำ ต่อ 1 โครงการ เขียนเสร็จแล้วให้นำบัตรคำ แปะลงใน flipchart โดยพิจารณาว่าโครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินงานด้านใด ให้แปะลงในด้านนั้น

18 เสริมสร้างธรรมาภิบาล
ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 3 เสริมสร้างธรรมาภิบาล กำหนดมาตรการป้องกัน 2 สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ 4

19 ACTION PLAN

20 สอบถามรายละเอียด 0 2141 2125 (ใหม่/ต้อม)
วันนี้ – 31 สิงหาคม 2561 - จัดทำข้อมูลในใบงานที่ 1 เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ 62 - จัดทำข้อมูลในใบงานที่ 2 เพื่อจัดทำกรอบคำของบประมาณ 63 ทั้งนี้ ศปท. จะมีหนังสืออย่างเป็นทางการอีกครั้งหนึ่ง ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2561 จัดส่งข้อมูลใบงานที่ 1 และ 2 ทาง E – mail : โดยข้อมูลดังกล่าวได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารของแต่ละหน่วยงานแล้ว 1 – 14 กันยายน 2561 ฝ่ายเลขารวบรวมข้อมูล และบรรจุกิจกรรมลงในแต่ละแผน 17 – 21 กันยายน 2561 นำเสนอผู้บริหารกระทรวงให้ความเห็นชอบ ภายในวันที่ 30 กันยายน 2561 ประกาศใช้แผนปฏิบัติการ สอบถามรายละเอียด (ใหม่/ต้อม) ภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2561 ออกแบบรายงานติดตามผลการดำเนินงานตามแผน

21

22

23 รายละเอียดโครงการ ส่วนการรายงาน

24 รายละเอียดโครงการ ฝ่ายเลขาฯ บันทึกข้อมูลให้ โดยอ้างอิงจากใบงานที่แต่ละหน่วยงานส่งมา

25 ส่วนการรายงาน แต่ละหน่วยงานรายงานผลรายไตรมาส ไม่เกินวันที่ 25 ของเดือน
ธันวาคม, มีนาคม, มิถุนายน และกันยายน ตามลำดับ


ดาวน์โหลด ppt 20 ปี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google