แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

หน่วย : ล้าน บาท ผลการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี พ. ศ ปี พ. ศ. จำนวนเงิน ที่ขอกัน เบิกจ่ายร้อยละ ,
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
กระทรวงวัฒนธรรมร่วมประชุมกับ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเพื่อหารือการ สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ ร่วมกัน โดยมีพลเอกธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ทิศทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
รายงานสถานการณ์E-claim
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2561 เขต 1 เชียงใหม่

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ข้อ ๑๓ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ประเภทบริการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่ จำนวน ๒.๒๘ บาทต่อผู้มีสิทธิ ให้จ่ายในลักษณะโครงการให้หน่วยบริการ ดังนี้ ๑๓.๑ บริหารจัดการเป็นระดับเขต โดยจัดสรรเงินเป็น Global budget ระดับเขต ตามจำนวนผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนที่อายุ ๕๐-๗๐ ปี * ยกเว้นผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนกับกรมแพทย์ทหารเรือและกรมแพทย์ทหารอากาศ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีสิทธิที่ไม่ได้อยู่ในเป้าหมาย ให้ปรับเกลี่ยค่าใช้จ่ายให้กับ Global budgetระดับเขตของเขต ๑-เขต ๑๓ ตามจำนวนผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนที่อายุ ๕๐-๗๐ ปีของแต่ละเขต ๑๓.๒ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย ให้ผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. โดยรูปแบบระบบบริการหรือเงื่อนไขบริการ ให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการกำหนดประเภทและขอบเขตบริการในการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด * ข้อมูลประชากรจากฐานข้อมูล ณ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๐

1.วัตถุประสงค์ 2.เป้าหมายบริการ คู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ 1.วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่ในกลุ่มเสี่ยง 1.2 เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายการส่งต่อและดูแลผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ 1.3 เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม 2.เป้าหมายบริการ 2.1 ตรวจคัดกรองอุจจาระด้วย FIT Test จำนวน 1,276,000 ราย 2.2 การตรวจยืนยันและวินิจฉัย 2.2.1 ตรวจยืนยันด้วยกล้อง Colonoscopy จำนวน 25,380 ราย 2.2.2 ตรวจชิ้นเนื้อ (Biopsy) จำนวน 8,800 ชิ้น

คู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ แนวทางการดำเนินการ 1. สปสช.ส่วนกลาง ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข ดำเนินการดังนี้ 1.1 กำหนดแนวทางเวชปฎิบัติหรือแนวทางดำเนินการ การตรวจ คัดกรอง ตรวจยืนยัน และการส่งต่อ เพื่อวินิจฉัยและรักษา มะเร็งลำไส้ใหญ่ รวมถึง ข้อบ่งชี้การส่องกล้องแบบผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน 1.2 กำหนดระบบข้อมูลและการรายงานผลการดำเนินการ 2. ให้มีกลไกคณะทำงานในระดับพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมระหว่าง สปสช.เขต กระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการ และเสนอผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. ดังนี้ 2.1 กำหนดกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่เป้าหมายที่จะดำเนินการให้ครบถ้วนตามเป้าหมายที่ได้รับเป็นอย่างน้อย 2.2 กำหนดแนวทางการสื่อสารงบประมาณ 2.3 กำหนดเครือข่ายหน่วยบริการ จัดทำแผนและแนวทางการดำเนินการ 2.4 กำกับติดตามผลการดำเนินงานและรายงานข้อมูลผลการดำเนินการ ตามแนวทางที่ส่วนกลางกำหนด โดยมีการตรวจสอบข้อมูลว่าดำเนินการจริงและไม่เบิกซ้ำซ้อนกับรายการอื่น

แนวทางการคัดกรอง

Global Budget เขต (บาท) สรุปยอดจัดสรรเป้าหมาย (ผ่านความเห็นชอบร่วมกันระหว่าง SP, กสธ., สปสช.ในการประชุมร่วมวันที่ 14 ก.ย.60) ปชก.สิทธิ UC อายุ 50 – 70 ปี (ราย) Global Budget เขต (บาท) เป้าหมาย FIT (ราย) เป้าหมาย Colonoscopy เป้าหมาย Biopsy เขต 1 เชียงใหม่ 1,210,423 11,466,056 135,047 2,685 931 ระดับประเทศ 11,602,162 111,257,160 1,276,000 25,380 8,800

การบันทึกข้อมูล 1.หน่วยบริการบันทึกข้อมูลการให้บริการตามระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติกำหนด ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยี่ กระทรวงสาธารณสุข กำหนดรหัสการ การคัดกรองและหัตถการ สำหรับให้หน่วยบริการบันทึก และ ส่งออก ตาม 43 แฟ้มมาตรฐาน โดย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รหัสหัตการดังกล่าวได้แก่ 1B0060 = ตรวจคัดกรองความเสี่ยง/โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ผลปกติ 1B0061 = ตรวจคัดกรองความเสี่ยง/โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ผลผิดปกติ Z12.1 = ผล Colonoscopy ปกติ K63.5 = Polyp of colon K57.3,K51 = Non Polyp C18-C20 = Colorectal

ข้อเสนอจากที่ประชุมหารือ แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่ เขต 1 เชียงใหม่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 ผู้เข้าร่วมประชุม : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 8 จังหวัด , แพทย์และพยาบาลจาก service plan มะเร็ง 8 จังหวัด , รพ.มะเร็งลำปาง , ผู้แทนรพ.รัฐนอกสังกัด / รพ.มหาวิทยาลัย และ ผู้แทนจากรพ.เอกชน

เป้าหมาย colonoscopy (ราย) ข้อที่1 : การจัดสรรเป้าหมาย FIT TEST, colonoscopy & biopsy โดยจัดสรรตามสัดส่วนประชากรรายจังหวัด จังหวัด ปชก.อายุ 50 -70 ปี สัดส่วน เป้าหมาย FIT TEST (ราย) เป้าหมาย colonoscopy (ราย) เป้าหมาย Biopsy (ราย) เชียงราย 259,824 21.47% 28,989 576 200 เชียงใหม่ 327,353 27.04% 36,523 726 252 น่าน 98,705 8.15% 11,013 219 76 พะเยา 111,813 9.24% 12,475 248 86 แพร่ 104,828 8.66% 11,530 233 80 แม่ฮ่องสอน 35,858 2.96% 4,001 28 ลำปาง 173,565 14.34% 19,365 385 133 ลำพูน 98,477 8.14% 10,987 218   1,210,423 100% 135,047 2,685 931

ข้อเสนอที่ประชุม (ต่อ) ข้อที่ 2 : การจัดเครือข่ายหน่วยบริการการส่งต่อ Colonoscopy เป็นไปตามข้อตกลงร่วมกันภายในจังหวัด ข้อที่ 3 : การจัดสรรงบประมาณตามข้อตกลง/โครงการเป็น 2 งวดดังนี้ งวดที่ 1 จัดสรรร้อยละ 50 ตามเป้าหมาย FIT TEST งวดที่ 2 จัดสรรตามผลงานการให้บริการที่เกิดขึ้นจริงรายไตรมาส โดยหักลบทางบัญชีกับงบที่จ่ายใน งวดที่ 1 (ผลงาน หลังจากลงนามในสัญญา –กันยายน 61) ข้อที่4 : สามารถปรับเกลี่ยเป้าหมายภายในเขตหลังดำเนินการ