ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
Advertisements

ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนเมษายน 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ระบบงานที่สำคัญของตลาดหลักทรัพย์ฯ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือน พฤษภาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ 30 ธันวาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร , 2120 –
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน สิงหาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน พฤษภาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือน กรกฎาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ 29 ตุลาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 เมษายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 31 สิงหาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 พฤศจิกายน 2550.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 มิถุนายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 31 สิงหาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนมกราคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 มิถุนายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ 29 ตุลาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 –
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร , 2120 – ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ 30 พฤศจิกายน.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122, 2128
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 กรกฎาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ 31 พฤษภาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร –
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 เมษายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
การจัดประชุมชี้แจง รายงานการลงทุนในหลักทรัพย์ในต่างประเทศ
วิชา การเป็นผู้ประกอบการและการลงทุนทางธุรกิจ
บทที่ 3 เครดิตและการให้สินเชื่อของธนาคาร CREDIT FROM COMMERCIAL BANK
REPRESENTATIVE FULL - BODIED MONEY CREDIT MONEY GRASHAM’S LAW
สรุปภาวะตลาดหลักทรัพย์ เดือน กุมภาพันธ์ มีนาคม 2559.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
เงินสดและเงินลงทุน (Cash and Investment) Chapter 6 2.
Managerial Accounting for Management
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ Provident Fund
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน คณะทำงานย่อยครั้งที่ 2
สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี จำกัด
Bond and Fixed Income Highlight
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
การเงินระหว่างประเทศ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
พระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
เอกสารการส่งออก.
Money and Banking รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล
หมวด 3 ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554
การจัดการเงินสด และหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
KK Brand CURRENT NEW CORPORATE VISION CORPORATE MISSION
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1 9 มีนาคม 2553

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับขอบเขตงานโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน เพื่อให้คณะทำงานได้พบปะหารือและร่วมกันกำหนด แนวทางการดำเนินงานในรูปแบบพหุภาคี เพื่อจัดตั้งศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน เพื่อให้คณะทำงานทราบถึงบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ

การบริหารโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน Project Steering Committee ผร.ฉิม ตันติยาสวัสดิกุล (ธปท.) ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโสวสันต์ เทียนหอม (ก.ล.ต.) .... (สบน.) รองผจก.นงราม วงษ์วานิช (ตลท.) ผช.ผจก.จิระพล โพบุคดี (ThaiBMA) ทีมงานบริหารโครงการ ผบส.นิรุท ลิ้มมณี (ธปท.) ผบ.ชารี สาทรกิจ (ธปท.) สิรินธร โหตกษาปน์กุล (ก.ล.ต.) ธนาคารแห่งประเทศไทย ผอส.อมรา ศรีพยัคฆ์ ผอ.ผุสดี การเจริญดี ผบส.ประภาภรณ์ ถนอมวงศ์ทัย ผบส.นิรุท ลิ้มมณี ผบส.สุนันทา คงศรีเจริญ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ผอส.ชัยธัช  ประจวบดี ผช.ผอส. สายชล ลิสวัสดิ์ ผช.ผอส. จิโรจน์ ฤกษ์ศรีมงคล ผช.ผอส. ธนานันต์ ศิวโมกษธรรม ผช.ผอส. ชาญศักดิ์  ไชยภูมิสกุล คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ผอ.กำพล ศรธนะรัตน์ ผช.ผอส.สุรีย์พร จันทราประภาเวช ผช.ผอส.ปิยะธิดา สำราญจิตร์ ผช.ผอส.จอมขวัญ คงสกุล ผช.ผอ.ฉันท์สุดา รักตะบุตร ผช.ผอ.ประสาธน์สุข ศิริกุล ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผช.ผจก.ศรกวี ปูรณโชติ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การบริหารโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน Project Steering Committee ผร.ฉิม ตันติยาสวัสดิกุล (ธปท.) ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโสวสันต์ เทียนหอม (ก.ล.ต.) .... (สบน.) รองผจก.นงราม วงษ์วานิช (ตลท.) ผช.ผจก.จิระพล โพบุคดี (ThaiBMA) ทีมงานบริหารโครงการ ผบส.นิรุท ลิ้มมณี (ธปท.) ผบ.ชารี สาทรกิจ (ธปท.) สิรินธร โหตกษาปน์กุล (ก.ล.ต.) บทบาทหน้าที่ Project Steering Committee ดูแลติดตามความก้าวหน้าของโครงการในภาพรวม ให้การสนับสนุนทรัพยากรด้านต่างๆ แก่โครงการ ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในประเด็นต่างๆ ที่คณะทำงาน ไม่สามารถตกลงกันได้ ธนาคารแห่งประเทศไทย ผอส.อมรา ศรีพยัคฆ์ ผอ.ผุสดี การเจริญดี ผบส.ประภาภรณ์ ถนอมวงศ์ทัย ผบส.นิรุท ลิ้มมณี ผบส.สุนันทา คงศรีเจริญ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ผอส.ชัยธัช  ประจวบดี ผช.ผอส. สายชล ลิสวัสดิ์ ผช.ผอส. จิโรจน์ ฤกษ์ศรีมงคล ผช.ผอส. ธนานันต์ ศิวโมกษธรรม ผช.ผอส. ชาญศักดิ์  ไชยภูมิสกุล คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ผอ.กำพล ศรธนะรัตน์ ผช.ผอส.สุรีย์พร จันทราประภาเวช ผช.ผอส.ปิยะธิดา สำราญจิตร์ ผช.ผอส.จอมขวัญ คงสกุล ผช.ผอ.ฉันท์สุดา รักตะบุตร ผช.ผอ.ประสาธน์สุข ศิริกุล ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผช.ผจก.ศรกวี ปูรณโชติ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การบริหารโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน Project Steering Committee ผร.ฉิม ตันติยาสวัสดิกุล (ธปท.) ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโสวสันต์ เทียนหอม (ก.ล.ต.) .... (สบน.) รองผจก.นงราม วงษ์วานิช (ตลท.) ผช.ผจก.จิระพล โพบุคดี (ThaiBMA) ทีมงานบริหารโครงการ ผบส.นิรุท ลิ้มมณี (ธปท.) ผบ.ชารี สาทรกิจ (ธปท.) สิรินธร โหตกษาปน์กุล (ก.ล.ต.) บทบาทหน้าที่ทีมบริหารโครงการ ดูแลติดตามความก้าวหน้าของโครงการในลักษณะ day-to-day ประสานงานกับองค์กรต่างๆ เพื่อนัดหมายกิจกรรมต่างๆ จัดทำรายงานสรุปความคืบหน้าเพื่อรายงานแก่ Steering Committee จัดทำรายละเอียดแผนงานและงบประมาณ รวมทั้งดูแลงานบริหารโครงการอื่นๆ ธนาคารแห่งประเทศไทย ผอส.อมรา ศรีพยัคฆ์ ผอ.ผุสดี การเจริญดี ผบส.ประภาภรณ์ ถนอมวงศ์ทัย ผบส.นิรุท ลิ้มมณี ผบส.สุนันทา คงศรีเจริญ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ผอส.ชัยธัช  ประจวบดี ผช.ผอส. สายชล ลิสวัสดิ์ ผช.ผอส. จิโรจน์ ฤกษ์ศรีมงคล ผช.ผอส. ธนานันต์ ศิวโมกษธรรม ผช.ผอส. ชาญศักดิ์  ไชยภูมิสกุล คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ผอ.กำพล ศรธนะรัตน์ ผช.ผอส.สุรีย์พร จันทราประภาเวช ผช.ผอส.ปิยะธิดา สำราญจิตร์ ผช.ผอส.จอมขวัญ คงสกุล ผช.ผอ.ฉันท์สุดา รักตะบุตร ผช.ผอ.ประสาธน์สุข ศิริกุล ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผช.ผจก.ศรกวี ปูรณโชติ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การบริหารโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน บทบาทหน้าที่คณะทำงาน ประสานงานเพื่อจัดเก็บรวบรวมความต้องการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร กำหนดรูปแบบมาตรฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูลทะเบียนและ ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงินที่รองรับข้อมูลของทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง กำหนดโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับศูนย์ข้อมูลทะเบียนและศูนย์ข้อมูลธุรกรรม ตราสารการเงิน ดูแลให้มีการพัฒนาระบบงานตามที่กำหนด Project Steering Committee ผร.ฉิม ตันติยาสวัสดิกุล (ธปท.) ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโสวสันต์ เทียนหอม (ก.ล.ต.) .... (สบน.) รองผจก.นงราม วงษ์วานิช (ตลท.) ผช.ผจก.จิระพล โพบุคดี (ThaiBMA) ทีมงานบริหารโครงการ ผบส.นิรุท ลิ้มมณี (ธปท.) ผบ.ชารี สาทรกิจ (ธปท.) สิรินธร โหตกษาปน์กุล (ก.ล.ต.) ธนาคารแห่งประเทศไทย ผอส.อมรา ศรีพยัคฆ์ ผอ.ผุสดี การเจริญดี ผบส.ประภาภรณ์ ถนอมวงศ์ทัย ผบส.นิรุท ลิ้มมณี ผบส.สุนันทา คงศรีเจริญ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ผอส.ชัยธัช  ประจวบดี ผช.ผอส. สายชล ลิสวัสดิ์ ผช.ผอส. จิโรจน์ ฤกษ์ศรีมงคล ผช.ผอส. ธนานันต์ ศิวโมกษธรรม ผช.ผอส. ชาญศักดิ์  ไชยภูมิสกุล คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ผอ.กำพล ศรธนะรัตน์ ผช.ผอส.สุรีย์พร จันทราประภาเวช ผช.ผอส.ปิยะธิดา สำราญจิตร์ ผช.ผอส.จอมขวัญ คงสกุล ผช.ผอ.ฉันท์สุดา รักตะบุตร ผช.ผอ.ประสาธน์สุข ศิริกุล ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผช.ผจก.ศรกวี ปูรณโชติ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน หลักการและเหตุผล 2.1 รูปแบบศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.2 ความครอบคลุมของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.3

ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน หลักการและเหตุผล 2.1 รูปแบบศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.2 ความครอบคลุมของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.3

แผนพัฒนาตลาดทุนไทย หลักการและเหตุผล พันธกิจที่ 4 กฎหมาย และ ระเบียบ กฎหมาย และ ระเบียบ บัญชี และ ภาษี ข้อมูล และ เทคโนโลยี การกำกับ ดูแล พันธกิจที่ 4 สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพทั้งทางด้านกฎหมาย ระเบียบ บัญชี ภาษี ข้อมูล เทคโนโลยี และการกำกับดูแล โดยมีมาตรการ “จัดให้มีศูนย์กลางระบบข้อมูลตราสารการเงินที่สมบูรณ์ มีการจัดเก็บที่เป็นมาตรฐานสากล สอดคล้องกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงกันได้ระหว่างองค์กรต่าง ๆ เพื่อให้นักลงทุน และผู้ร่วมตลาดมีข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และตัดสินใจที่ครบถ้วน สามารถนำไปใช้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ (เป้าหมาย : ภายในปี 2553)”

ข้อมูลตราสารการเงิน ปัจจุบัน ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน การใช้งาน TSD SEC TSD SET BOT TSD Custodian ThaiBMA 1. ทุกองค์กรมีพันธกิจของ ตนเอง 2. ข้อมูลกระจายอยู่หลาย หน่วยงาน 3. มาตรฐานและนิยามต่างกัน 4. เชื่อมโยงข้อมูลทำได้ยาก ส่งเสริมพันธกิจที่ 4 สร้างโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีประสิทธิภาพ ทั้งทางด้านกฎหมาย ระเบียบ บัญชี ภาษี ข้อมูล เทคโนโลยี และการกำกับดูแล ปัจจุบัน การใช้ข้อมูลภาพรวมตราสารการเงิน กำหนดนโยบายการเงินและการคลัง จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลสถิติ วิเคราะห์ ติดตาม ตรวจสอบ กำกับ พฤติกรรมของผู้ลงทุน และผู้ร่วมตลาด พัฒนาตลาดเงินและตลาดทุนของประเทศ 1. กำหนดนโยบาย 2. พัฒนาตลาดการเงิน 3. วิเคราะห์ ติดตาม กำกับ ตรวจสอบ ผู้ร่วมตลาด 4. จัดทำสถิติและ เผยแพร่

ประโยชน์ของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน สามารถเชื่อมโยงข้อมูลตลาดทุนไทย กับตลาดทุนต่างประเทศ ลดต้นทุนการบริหารจัดการและ ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลตราสารการเงิน สามารถวิเคราะห์ติดตามสภาพตลาด และส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ระดมทุนและผู้ลงทุนสามารถใช้ข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์และตัดสินใจ ศูนย์ข้อมูล ตราสารการเงิน

ศูนย์ข้อมูล ตราสารการเงิน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ศูนย์ข้อมูล ตราสารการเงิน ความร่วมมือของทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง Resources (บุคลากร งบประมาณ ระยะเวลา)

ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน หลักการและเหตุผล 2.1 รูปแบบศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.2 ความครอบคลุมของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.3

ศูนย์ข้อมูล ตราสารการเงินของไทย องค์ประกอบของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ศูนย์ข้อมูล ตราสารการเงินของไทย Sec-by-Sec Database SEC ThaiBMA SEC ThaiBMA ศูนย์ ศูนย์ BOT SET BOT SET ข้อเสนอ กลต. เป็นแกนกลางพัฒนาระบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ และปรับปรุงข้อมูลตราสารการเงินทุกประเภททั้งตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศ โดยให้สามารถใช้งานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ทะเบียน ธุรกรรม สบน สบน TSD TSD Others เช่น AIMC, Custodian, Broker, กองทุนรวม, ประกันภัย Others เช่น กองทุนรวม, DBD TFEX TFEX

รหัสมาตรฐาน & นิยามข้อมูล รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน Issuer รหัสมาตรฐาน & นิยามข้อมูล หน่วยงานกำกับดูแล ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น กองทุนรวม ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น กองทุนรวม ศูนย์ทะเบียน กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูล หมายเหตุ Issuer ให้ข้อมูลทั้งหมดตามมาตรฐานที่กำหนดแก่ศูนย์ทะเบียนครั้งเดียว

บทบาทและหน้าที่ศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน 1 2 3 4 กำหนดรหัสมาตรฐาน และนิยามข้อมูล (Standard / Definition) จัดเก็บ ตรวจสอบติดตาม และปรับปรุงข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน จัดทำและปรับปรุง โครงสร้าง รวมถึงระบบข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน เผยแพร่ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงินให้ผู้ร่วมตลาด (Public Information) 5 มีช่องทางเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทะเบียนตราสารการเงินให้แต่ละองค์กร

รูปแบบศูนย์ธุรกรรมตราสารการเงิน ศูนย์ทะเบียน ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น Custodian Broker กองทุนรวม ประกันภัย ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น Custodian Broker กองทุนรวม ประกันภัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ศูนย์ธุรกรรม กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล

บทบาทและหน้าที่ศูนย์ธุรกรรมตราสารการเงิน 1 2 3 4 กำหนดรหัสมาตรฐาน และนิยามข้อมูล (Standard / Definition) จัดเก็บ ตรวจสอบติดตาม และปรับปรุงข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน จัดทำสถิติและเผยแพร่ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงินให้ผู้ร่วมตลาด (Public Information) จัดทำและปรับปรุง โครงสร้าง รวมถึงระบบข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 มีช่องทางเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงินให้แต่ละองค์กร

ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน หลักการและเหตุผล 2.1 รูปแบบศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.2 ความครอบคลุมของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2.3

ความครอบคลุมของศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ด้าน ผู้ลงทุน ความครอบคลุม ประเภท ตราสาร ผู้ลงทุนไทย ผู้ลงทุนต่างประเทศ ที่ลงทุนในตราสารการเงินไทย ด้าน Issuer ตราสารหนี้ ตราสารทุน ตราสารอนุพันธ์ ตราสารสิทธิ ในกองทรัพย์สิน หน่วยลงทุน ประเภท ธุรกรรม ตราสารการเงินระดมทุนในไทย ตราสารการเงินไทย ระดมทุนจาก ตปท. ยอดคงค้าง ออกจำหน่ายใหม่ ไถ่ถอน ซื้อ/ขาย ราคา

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

รหัสมาตรฐาน & นิยามข้อมูล รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน Issuer รหัสมาตรฐาน & นิยามข้อมูล หน่วยงานกำกับดูแล ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น กองทุนรวม ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น กองทุนรวม ศูนย์ทะเบียน กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูล หมายเหตุ Issuer ให้ข้อมูลทั้งหมดตามมาตรฐานที่กำหนดแก่ศูนย์ทะเบียนครั้งเดียว

Template ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสาร ข้อมูลบุคคลที่เกี่ยวเนื่องกับตราสาร รหัสอ้างอิงตราสาร Common Feature Feature แต่ละประเภทตราสาร ตราสารทุน ตราสารหนี้ หน่วยลงทุน ตราสารอนุพันธ์ ตราสารสิทธิในกองทรัพย์สิน ประวัติการเปลี่ยนแปลงข้อมูล feature

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน ศูนย์ทะเบียน ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น Custodian Broker กองทุนรวม ประกันภัย ผู้ร่วมตลาดอื่น ๆ เช่น Custodian Broker กองทุนรวม ประกันภัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ศูนย์ธุรกรรม กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล

ข้อมูลธุรกรรม - ตราสารหนี้ ข้อมูลผลการประมูล / จำหน่าย / ไถ่ถอน / Re-Open ตราสารหนี้ภาครัฐที่ ธปท.เป็นนายทะเบียน ข้อมูลยอดคงค้าง ข้อมูลตราสารหนี้ออกใหม่ ข้อมูลซื้อขายตราสารหนี้ ข้อมูล Mark to Market ข้อมูล Cash Flow ข้อมูล Yield ข้อมูล Bond Index ข้อมูลธุรกรรม

ข้อมูลธุรกรรม- ตราสารทุน ข้อมูลยอดคงค้าง ข้อมูลตราสารทุนออกใหม่ ข้อมูลซื้อขายตราสารทุน ข้อมูล Market Cap. ข้อมูล Index ข้อมูล Open, Close, High, Low ข้อมูลธุรกรรม

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

รหัสมาตรฐาน 5.1 รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน 5.2 รหัสอ้างอิงบุคคล / นิติบุคคล 5.2

รหัสมาตรฐาน 5.1 รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน 5.2 รหัสอ้างอิงบุคคล / นิติบุคคล 5.2

ISIN Code, SET Code, ThaiBMA Code รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน รหัสมาตรฐาน International Thailand 1 รหัสอ้างอิงตราสารการเงิน ISIN Code (ISO 6166) ISIN Code, SET Code, ThaiBMA Code 2 ประเภทตราสารการเงิน CFI (ISO10962) - 3 Securities Type ตามคุณสมบัติพิเศษ 4 ประเภทสินทรัพย์อ้างอิง 5 ประเภทการค้ำประกัน (รัฐบาล) 6 ประเภทอัตราดอกเบี้ย 7 ประเภทการเสนอขาย

รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน รหัสมาตรฐาน International Thailand 8 ตลาดรอง - 9 วัตถุประสงค์การออกหลักทรัพย์ 10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 11 ประเทศ ISO3166 12 สกุลเงิน ISO4217

ประเภทตราสารการเงิน English Name Thai Name Total (All Financial Market Instrument) รวมเครื่องมือทางการเงินทุกประเภท Equity Securities ตราสารทุน Common Stock and Preferred Stock หุ้นสามัญ และหุ้นบุริมสิทธิ์ Common Stock หุ้นสามัญ Preferred Stock หุ้นบุริมสิทธิ Unit Trust หน่วยลงทุน Property Fund หน่วยลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ Commodity Fund หน่วยลงทุนในกองทุนสินค้าโภคภัณฑ์ Exchange Traded Fund (ETF) หน่วยลงทุนในกองทุนอีทีเอฟ Money Market Mutual Fund (MMMF) หน่วยลงทุนในกองทุนรวมตลาดเงิน Unit Trust Other than above listed หน่วยลงทุนในกองทุนประเภทอื่น ๆ ยกเว้นหน่วยลงทุนที่ปรากฏข้างต้น Depository Receipt on Equity Securities ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงที่เป็นตราสารทุน Other Equity Securities ตราสารทุนอื่น

ประเภทตราสารการเงิน English Name Thai Name Debt Securities ตราสารหนี้ Bond พันธบัตร Debenture หุ้นกู้ Straight Bond หุ้นกู้ธรรมดา Convertible Debenture หุ้นกู้แปลงสภาพ Subordinate Debenture หุ้นกู้ด้อยสิทธิ Treasury Bill ตั๋วเงินคลัง Bill of Exchange ตั๋วแลกเงิน Floating Rate Note ตั๋วเงินอัตราดอกเบี้ยลอยตัว Floating Rate Certificate of Deposit บัตรเงินฝากอัตราดอกเบี้ยลอยตัว Credit-Linked Note First to Default Credit-Linked Note Proportionate Credit-Linked Note Promissory Note ตั๋วสัญญาใช้เงิน Negotiable Certificate of Deposit (NCD) บัตรเงินฝาก Non-participating Preferred Stock หุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่ร่วมรับ Transferable Custody Receipt (TCR) ใบรับฝากหลักทรัพย์ที่เปลี่ยนมือได้ Depository Receipt on Debt Securities ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงที่เป็นตราสารหนี้

Securities Type ตามคุณสมบัติพิเศษ English Name Thai Name Senior ไม่ด้อยสิทธิ Subordinated ด้อยสิทธิ Amortization ทยอยชำระคืนเงินต้น Straight ชำระคืนเงินต้นครั้งเดียว Securitization การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน

ประเภทสินทรัพย์อ้างอิง English Name Thai Name Bond พันธบัตร Currency เงินตราต่างประเทศ Interest Rate อัตราดอกเบี้ย Stock Index ดัชนีหุ้น Commodities สินค้า Agriculture สินค้าเกษตร เช่น ถั่วเหลือง กาแฟ น้ำตาล Energy พลังงาน เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ Precious Metals โลหะมีค่า เช่น เงิน ทองคำ แพลทินัม Other Metal โลหะอื่น ๆ เช่น ดีบุก ทองแดง Other Commodities สินค้าอื่น ๆ Others อื่น ๆ

รหัสมาตรฐาน 5.1 รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน 5.2 รหัสอ้างอิงบุคคล / นิติบุคคล 5.2

Personal Id, Passport No., Registration Id. รหัสอ้างอิงบุคคล/ นิติบุคคล รหัสมาตรฐาน International Thailand 1 รหัสอ้างอิงบุคคล / นิติบุคคล Identification Id Personal Id, Passport No., Registration Id. 2 ประเภทของรหัสอ้างอิงบุคคล 3 ประเภทการจดทะเบียน 4 การจัดกลุ่มประเภทบุคคล

การจัดกลุ่มประเภทบุคคล 24 กลุ่ม English Name Thai Name Bank of Thailand ธนาคารแห่งประเทศไทย Domestically-registered commercial banks, Including International Banking Facilities ธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ Branches of foreign bank, including international banking facilities สาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ Other Depository Special Financial Institutions สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่รับฝากเงิน Finance Company บริษัทเงินทุน Others of other Depository Financial Institutions สถาบันการเงินที่รับฝากเงินอื่น ๆ Securities Company บริษัทหลักทรัพย์ Civil Services Pension Fund กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ Pension funds กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ Mutual Fund Exclude Money Market mutual fund กองทุนรวม

การจัดกลุ่มประเภทบุคคล 24 กลุ่ม English Name Thai Name Insurance Companies บริษัทประกันภัย Life Insurance Companies บริษัทประกันชีวิต Others of other financial corporations สถาบันการเงินที่ไม่รับฝากเงินอื่น ๆ Non-Profit Organization Serving Government and Workmen’s compensation Fund ส่วนราชการสังกัดรัฐบาลกลาง Social Security สำนักงานประกันสังคม State and local government รัฐบาลท้องถิ่น Public nonfinancial corporations รัฐวิสาหกิจที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน Other nonfinancial corporations ธุรกิจที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน Resident Individual and Private Fund บุคคลธรรมดา Non-profit Organization Serving Household สถาบันที่ไม่แสวงหากำไร

การจัดกลุ่มประเภทบุคคล 24 กลุ่ม English Name Thai Name Non-resident Juristic Person ผู้มีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศที่เป็นนิติบุคคล Non-resident Individual ผู้มีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศที่เป็นบุคคลธรรมดา Non-resident Financial Institutions ผู้มีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศที่เป็นสถาบันการเงิน Other Non-resident not include elsewhere ผู้มีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศอื่น ๆ

วาระการประชุม 1 Kick-off ทีมงานพหุภาคี 2 ภาพรวมศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน 2 ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน 3 4 ศูนย์ข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน 5 รหัสมาตรฐาน 6 กรอบและแนวทางการดำเนินงาน

กรอบและแนวทางการดำเนินงาน (เบื้องต้น)