งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนการลงทุน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล ตุลาคม 2559

2 Topics 1. แผนการลงทุนปัจจุบันและผลการดำเนินงาน
2. การนำส่งเงินสะสมในส่วนของสมาชิก 3. แผนการลงทุนเพิ่มเติม 3.1 ข้อมูลแผนการลงทุนเดิม 3.2 ข้อมูลแผนการลงทุนเพิ่มเติมและผลตอบแทนย้อนหลัง 3.3 การเปลี่ยนแผน 4. ระบบ FundLink M Choice Online 5. สิทธิประโยชน์สำหรับสมาชิกกองทุน 6. การวางแผนการเงิน

3 แผนการลงทุนปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหิดล
นโยบายการลงทุนภายใต้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล ขนาดกองทุน 1,643 ล้านบาท (ณ กันยายน 2559) ตราสารตลาดเงิน ตราสารทุน ธนรัฐ (ตราสารตลาดเงิน) ขนาดกองทุน 806 ล้านบาท ธนบดี (ตราสารตลาดเงิน) ขนาดกองทุน 544 ล้านบาท SET 50 (ตราสารทุนไทย) ขนาดกองทุน 185 ล้านบาท JUMBO 25 (ตราสารทุนไทย) ขนาดกองทุน 106 ล้านบาท แผนที่ แผนการลงทุน จำนวนสมาชิกที่เลือก ผลการดำเนินงาน ณ กันยายน 2559 ผลการดำเนินงาน ปี 2558 1 ธนรัฐ (100) 1,605 คน 0.83% 1.40 % 2 ธนรัฐ : ธนบดี (75 : 25) 799 คน 3 ธนรัฐ : ธนบดี (50 : 50) 2,109 คน 0.82% 4 ธนรัฐ : ธนบดี : SET50 (50 : 40 : 10) 2,016 คน 2.68% -0.35 % 5 ธนรัฐ : ธนบดี : SET50 : JUMBO 25 (40 : 40 : 10 : 10) 4,605 คน 4.91% -2.13 % 6 ธนรัฐ : ธนบดี : SET50 : JUMBO 25 (40 : 30 : 20 : 10) 7,623 คน 6.78% -3.88 % รวม 18,757 คน จำนวนครั้งในการเปลี่ยนแผนการลงทุนผ่าน Reallocation 3 ครั้ง , Rebalance ครั้ง จำนวนครั้งในการเปลี่ยนแผนการลงทุนผ่านแบบฟอร์ม (paper) Reallocation 1 ครั้ง , Rebalance 1 ครั้ง

4 อัตราเงินสะสมในส่วนของสมาชิก
การนำส่งเงินสะสมในส่วนของสมาชิก อัตราเงินสะสมในส่วนของสมาชิก สมาชิกต้องจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินเดือน ทั้งนี้สมาชิกสามารถเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมได้ปีละ 1 ครั้ง และเปลี่ยนได้ในเดือนตุลาคมของทุกปี หมายเหตุ : การแจ้งเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมดำเนินการผ่านฝ่ายทรัพยากรบุคคล

5 แผนการลงทุนเพิ่มเติม

6 แผนการลงทุนเพิ่มเติม
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล ตราสารหนี้ ตราสารทุน ในประเทศ ตราสารทุนต่างประเทศ ทางเลือก อสังหาริมทรัพย์ ลงทุนได้ ≤ 15% ของ NAV ธนรัฐ (ตลาดเงิน - ภาครัฐ) SET50 (หุ้นไทย - ทั่วไป) Global Quality Growth* (หุ้นต่างประเทศทั่วโลก) 1 4 พร็อพเพอร์ตี้ อินคัม พลัส** (อสังหาริมทรัพย์) 6 7 ธนบดี (ตลาดเงิน - ทั่วไป) JUMBO25 (หุ้นไทย - ขนาดใหญ่) 2 5 ธนไพศาล (ตราสารหนี้ - ทั่วไป) 3 หมายเหตุ : สำหรับเดือนมิถุนายน และ เดือนธันวาคม บลจ.ทหารไทย ขอสงวนสิทธิ ไม่ รับคำสั่งทำรายการ Rebalance หากผลของการ Rebalanceนั้นทำให้สมาชิกไม่สามารถเข้าลงทุนในหน่วย ลงทุนของกองทุนรวม/นโยบายปลายทางได้ทันก่อนวันทำการสุดท้ายของเดือน * เป็นนโยบายที่ลงทุนในกองทุนรวมที่มีการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า Derivatives Investment (DI) **กองทุนนี้จะเข้าลงทุนในตราสารทางเลือก AI –Property ได้แก่ หน่วยลงทุนกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือตราสารกองทุนอสังหาริมทรัพย์ (Property)

7 เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนการลงทุนใหม่เสนอ นโยบายการลงทุนภายใต้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล ตราสารเงิน ตราสารหนี้ ตราสารทุนไทย ตราสารทุนต่างประเทศ กองทุนทางเลือก แผนปัจจุบัน ธนรัฐ ธนบดี ธนไพศาล SET 50 JUMBO 25 Global Quality Growth Property Income Plus แผนที่ 1 100% แผนที่ 2 75% % แผนที่ 3 50% % แผนที่ 4 50% % % แผนที่ 5 40% % % % แผนที่ 6 40% % % % แผนที่ 7 % % % % แผนที่ 8 % % % % แผนที่ 9 % % % % แผนใหม่

8 แผนการลงทุนใหม่ นโยบาย แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 แผน 5 แผน 6 แผน 7 แผน 8
แผนใหม่ นโยบาย แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 แผน 5 แผน 6 แผน 7 แผน 8 แผน 9 ธนรัฐ (ตลาดเงิน) 100% 75% 50% 40% - ธนบดี (ตลาดเงิน) 25% 30% ธนไพศาล (ตราสารหนี้) 60% SET 50 (หุ้นไทย) 10% 20% JUMBO 25 (หุ้นไทย) Global Quality Growth (ตราสารทุนต่างประเทศ) 5% 15% Property Income Plus (ทางเลือก) เหมาะสำหรับ ผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป หรือ ผู้ที่รับความเสี่ยงได้ ต่ำ - ค่อนข้างต่ำ ผู้ที่มีอายุ ปี หรือ ผู้ที่รับความเสี่ยงได้ ปานกลาง ผู้ที่มีอายุ น้อยกว่า 40 ปี หรือ ผู้ที่รับความเสี่ยงได้ สูง วัตถุประสงค์ รักษาเงินต้น รักษาอำนาจซื้อ เน้นความสมดุลของ ผลตอบแทนและความเสี่ยง เน้นการเติบโต ความผันผวน และความเสี่ยง ต่ำ ค่อนข้างต่ำ ปานกลาง สูง

9 จำลองความเสี่ยงและผลตอบแทนในอดีต* (High Risk, High Expected Return)
แผนการลงทุน แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 แผนที่ 5 แผนที่ 6 แผนที่ 7 แผนที่ 8 แผนที่ 9 ธนรัฐ (ตราสารตลาดเงิน) 100% 75% 50% 40% - ธนบดี (ตราสารตลาดเงิน) 25% 30% ธนไพศาล (ตราสารหนี้) 60% SET 50 (ตราสารทุนไทย) 10% 20% JUMBO 25 (ตราสารทุนไทย) Global Quality Growth (ตราสารทุนต่างประเทศ) 5% 15% Property Income Plus (ตราสารทางเลือก) ปี ผลตอบแทนรายปี (% ต่อปี) ยกเว้นปี 2016 เป็นผลตอบแทนตั้งแต่ต้นปี 2554 (2011) 2.44% 2.40% 2.36% 2.50% 2.92% 3.05% 1.21% 0.77% 0.45% 2555 (2012) 2.73% 2.72% 2.71% 5.96% 8.95% 12.21% 16.63% 19.07% 24.69% 2556 (2013) 2.33% 1.78% 1.08% 0.53% 2.63% 3.99% 4.72% 2557 (2014) 1.88% 1.89% 1.90% 3.32% 4.45% 5.87% 7.79% 8.79% 11.05% 2558 (2015) 1.40% -0.35% -2.13% -3.88% -0.70% -1.25% -3.68% ก.ย (2016) 0.83% 0.82% 2.68% 4.91% 6.78% 7.90% 8.78% 11.45% ค่าเฉลี่ย (ทบต้น) 2.02% 2.01% 2.00% 2.75% 3.45% 4.15% 6.01% 8.08% ค่าสะสม ( ก.ย.59) 12.17% 12.12% 12.07% 16.87% 21.55% 26.31% 39.91% 45.82% 56.37% * จำลองผลตอบแทนนี้จัดทำขึ้นเพื่อแสดงถึงลักษณะของผลตอบแทนและความเสี่ยงในอดีตของแต่ละแผนการลงทุน โดยคำนวณจากผลตอบแทนของกองทุนรวมและตัวแทนของ กองทุนรวม เช่น กองทุนหลักหรือเกณฑ์มาตรฐาน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ได้จัดตั้งในช่วงเวลานั้นๆ ทั้งนี้ผลการดำเนินงานในอดีตมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต

10  ปรับทั้งเงินใหม่และเงินเก่า (Reallocation & Rebalance)
การเปลี่ยนแผนการลงทุน วิธีการเปลี่ยนแผนการลงทุน มี 3 วิธี ดังนี้  การเปลี่ยนสัดส่วนการลงทุนสำหรับเงินเข้าใหม่ (Reallocation) - เงินใหม่  การเปลี่ยนสัดส่วนของมูลค่าเงินลงทุน (Rebalance) - เงินเก่า  การเปลี่ยนสัดส่วนการลงทุนสำหรับเงินเข้าใหม่ (Reallocation) และ การเปลี่ยนสัดส่วนของมูลค่าเงินลงทุน (Rebalance) วันที่เป็นสมาชิก (อดีต) วันที่ต้องการเปลี่ยนแผนการลงทุน อนาคต เงินเก่า เงินใหม่ เกิดจากเงินสะสม, เงินสมทบ รวมทั้งผลประโยชน์ ตั้งแต่วันที่เป็นสมาชิกจนถึงวันที่ต้องการเปลี่ยนแผน เงินเข้ากองทุน  เงินใหม่ (Reallocation)  เงินเก่า (Rebalance)  ปรับทั้งเงินใหม่และเงินเก่า (Reallocation & Rebalance)

11 การเปลี่ยนแผนการลงทุน (ต่อ)
จำนวนครั้งในการเปลี่ยนแผนผ่าน FundLink M Choice Online : Reallocation ปีละ 3 ครั้ง Rebalance ปีละ 3 ครั้ง ทั้งนี้สมาชิกเปลี่ยนแผนผ่าน เอกสาร ได้ปีละ 1 ครั้ง โดยจะมีผลในเดือนธันวาคม (โดยการเปลี่ยนแผนผ่านเอกสารขอให้ส่งข้อมูลการเปลี่ยนแผนมายังฝ่ายทรัพยากรบุคคลมหิดลภายในวันที่ 4 ธันวาคม) 2. วิธีการเปลี่ยนแผนการลงทุน 2.1 เอกสาร เอกสารแนบ 3 : หนังสือแจ้งความประสงค์กำหนด / เปลี่ยนสัดส่วนการลงทุนสำหรับเงินเข้าใหม่ เอกสารแนบ 4 : หนังสือแจ้งความประสงค์เปลี่ยนสัดส่วนของมูลค่าเงินลงทุน 2.2 ผ่านระบบ FundLink M Choice Online 3. ข้อจำกัดในการเปลี่ยนแผนการลงทุน : สำหรับเดือนมิถุนายน และ เดือนธันวาคม บลจ.ทหารไทย ขอสงวนสิทธิ ไม่รับคำสั่ง ทำรายการ Rebalance หากผลของการ Rebalance นั้นทำให้สมาชิกไม่สามารถเข้าลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวม/นโยบายปลายทางได้ทันก่อนวันทำการสุดท้ายของเดือน

12 การเปลี่ยนแผนการลงทุน (ต่อ)
4. Cut off time ในการเปลี่ยนแผนการลงทุน 4.1 เอกสาร : ภายใน น. จะทำรายการให้ในวันนั้น 4.2 ผ่านระบบ FundLink M Choice Online : ภายใน น. จะทำรายการให้ในวันนั้นได้

13 ระบบ FundLink M Choice Online

14

15 กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
การลงทะเบียน กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน 1. กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน 2. คลิก ตกลง

16 กำหนดรหัสผู้ใช้ และ รหัสผ่าน

17 การเข้าสู่ระบบ

18 สอบถามข้อมูล ข้อมูลการลงทุน คลิก ข้อมูลการลงทุน

19 สอบถามข้อมูล ข้อมูลการลงทุน (ต่อ) xxxxx xxxxx

20 คลิก ขอสิทธิใช้บริการธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต

21 (ไม่ต้องพิมพ์เอกสาร)
ขอสิทธิใช้บริการธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต (ต่อ) คลิก ยอมรับเงื่อนไข คลิก ตกลง/ รอการปลอดล็อคจากระบบประมาณ T+1 วันทำการ (ไม่ต้องพิมพ์เอกสาร)

22 ระบบจะแจ้งผลไปยัง E-mail ของสมาชิกเมื่อได้รับการปลดล็อคแล้ว
แจ้งปลดล็อคการขอสิทธิทำรายการ ระบบจะแจ้งผลไปยัง ของสมาชิกเมื่อได้รับการปลดล็อคแล้ว XXXXXX XXXXXXXXX XXXXXX XXXXXXXXX

23 คลิก เปลี่ยนสัดส่วนเงินลงทุนสำหรับเงินเข้าใหม่
Reallocation คลิก เปลี่ยนสัดส่วนเงินลงทุนสำหรับเงินเข้าใหม่

24 Reallocation (ต่อ) เลือก เปลี่ยนสัดส่วนการลงทุนสำหรับเงินเข้าใหม่ โดยเลือกว่า 1. เลือกตามแผนการลงทุน 1-4 ที่กำหนดไว้ คลิก เพื่อดำเนินการ

25 คลิก การปรับสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุน แบบระบุสัดส่วน
Rebalance คลิก การปรับสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุน แบบระบุสัดส่วน

26 Rebalance แบบระบุสัดส่วน
เลือก ปรับสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุน โดยเลือกว่า 1. เลือกตามแผนการลงทุน 1-4 ที่กำหนดไว้ คลิก เพื่อดำเนินการ

27 สิทธิประโยชน์สำหรับสมาชิกกองทุน

28 บริการสนับสนุนสำหรับสมาชิกกองทุน
ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ด้านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ให้คำแนะนำในการเลือกแผนการลงทุน Call Center ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและการลงทุนส่วนตัว คู่มือสมาชิก จัดเตรียมคู่มือกองทุนให้สมาชิกทุกราย ฟรี ความคุ้มครองประกันอุบัติเหตุ สำหรับสมาชิกทุกราย โปรแกรมวางแผนการเกษียณ Retire Rich Workbook บนระบบ FundLink M Choice Online สำหรับสมาชิกทุกราย

29 สวัสดิการความคุ้มครองประกันภัย อุบัติเหตุส่วนบุคคลให้กับสมาชิกกองทุน
บลจ.ทหารไทย ได้เพิ่มสวัสดิการ ความคุ้มครองประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล วงเงินคุ้มครอง 10,000 บาท ให้กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice ซึ่งจดทะเบียนแล้วทุกราย (บลจ.ทหารไทย เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่าย) ข้อตกลงคุ้มครอง ทุนประกันภัย เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร (อบ1.) 10,000 การขับขี่/โดยสารรถจักรยานยนต์ 5,000 ถูกฆาตกรรม ถูกทำร้ายร่างกายโดยเจตนา 6,000 โดยสารยานพาหนะสาธารณะ/ขณะอยู่ในอาคารสาธารณะ 20,000 ค่าปลงศพ 1,000

30 การวางแผนการเงิน

31 ผลสำรวจชีวิตเกษียณ

32 เมื่อมีอายุยืนขึ้นยิ่งลำบาก... เพราะเงินไม่พอใช้
โดยเฉลี่ยแล้วคนไทยที่สามารถมีชีวิตยืนยาวจนครบอายุ 60 ปี มีโอกาสที่จะมีอายุได้อีกถึงกว่า 20 ปี หรือคิดเป็น อายุขัยเฉลี่ย ประมาณ 80 ปี

33 สมมติฐาน ผลตอบแทน 5% เงินเฟ้อ 3% จำนวนปีหลังเกษียณ 25 ปี
เตรียมเงินเกษียณ 20 เท่า ของค่าใช้จ่ายต่อปี สมมติฐาน ผลตอบแทน 5% เงินเฟ้อ 3% จำนวนปีหลังเกษียณ 25 ปี

34 ตัวอย่าง : จำนวนเงินที่ต้องเตรียม ณ วันเกษียณ
ต่อครัวเรือน ต่อคน 6ล้าน 3ล้าน 25,000 x 12 x 20 12,500 x 12 x 20 * ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนเฉลี่ยเท่ากับ 20,892 บาท, 6,120 บาทต่อคน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูล ณ ปี 2557

35 เงินออมน้อย... ก็มีเงินล้านได้
อายุ ปีที่ ลงทุนเดือนละ 26 1 2,000 27 2 2,100 28 3 2,200 58 33 9,500 59 34 10,000 60 35 10,500 เพิ่มปีละ 5%

36 เงินออมน้อย... ก็มีเงินล้านได้
มูลค่าเงินลงทุน เมื่อลงทุนเป็นประจำ เดือนละ 2,000 บาท และเพิ่มขึ้นปีละ 5% ระยะยาว ระยะสั้น –กลาง ปี หน่วย : ล้านบาท

37 Albert Einstein

38 ศักยภาพระยะยาวของสินทรัพย์ลงทุน
ที่มา : Ibbotson, Morningstar

39 มาพร้อมกับความเสี่ยงที่สูงขึ้นตามไปด้วย
ปี Cash Short-term Bond Bond SET 1999 6.00% 6.88% 7.75% 36.27% 2000 4.08% 7.77% 14.29% (43.15%) 2001 3.50% 4.33% 8.33% 15.20% 2002 2.75% 4.41% 10.18% 20.51% 2003 2.00% 2.57% (2.49%) 120.68% 2004 1.00% 0.58% 2.87% (11.10%) 2005 0.42% (0.23%) 10.44% 2006 2.88% 5.30% 5.48% (0.71%) 2007 4.46% 6.11% 7.63% 30.40% 2008 2.33% 7.84% 18.78% (44.12%) 2009 1.75% 1.78% (4.18%) 69.20% 2010 0.68% 5.76% 44.71% 2011 1.63% 2.96% 5.61% 2.97% 2012 3.00% 4.02% 3.30% 39.80% 2013 2.48% 3.42% 2.14% (3.67%) 2014 2.25% 3.97% 9.37% 18.71% ค่าเฉลี่ยทบต้น 2.60% 3.98% 12.72% สูงสุด ต่ำสุด -4.18% -44.12% S.D. 1.40% 5.88% 40.32% สินทรัพย์ลงทุน (ไทย) ผลตอบแทนที่สูง มาพร้อมกับความเสี่ยงที่สูงขึ้นตามไปด้วย หมายเหตุ Cash = อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี เฉลี่ย Short-term Bond = ThaiBMA Gov.Bond Index Y Maturity Bond = ThaiBMA Gov.Bond Index Stock = SET (รวมปันผล) ผลตอบแทนของสินทรัพย์ในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลตอบแทนในอนาคต

40 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
ต้องลงทุนอะไรบ้าง ? พอร์ต อื่นๆ กองทุนรวม หุ้นระยะยาว (LTF) กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund : RMF) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) มีหุ้นต่ำสุด ประมาณ 70% สามารถเลือกผสม สัดส่วนสินทรัพย์ได้เอง กรณีเป็นกองทุนแบบ Employee’s Choice

41 ฝ่ายที่ปรึกษาการลงทุน-กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
คำเตือน ผลการดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน ผลการดำเนินงานในอดีตมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต ผลการดำเนินงานในอดีตของกองทุนรวมมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต การลงทุนย่อมมีความเสี่ยง ก่อนการตัดสินใจลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจลงทุน ฝ่ายที่ปรึกษาการลงทุน-กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บลจ. ทหารไทย โทร


ดาวน์โหลด ppt กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google