งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
e-Payment ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ ทางอิเล็กทรอนิกส์ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559

2 แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment Master Plan
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ National e-Payment Master Plan มติ ครม.ด่วนที่สุด ที่ นร /46771 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558

3 1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID
2 โครงการการขยายการใช้บัตร 3 โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 4 โครงการ e-payment ภาครัฐ 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ 5 โครงการส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

4

5 Digital Banking/Payment
Digital Business Digital Government e Business e Service B G e-payment payment Digital Banking/Payment 80 % Digital Economy Bank account อื่นๆ card

6 Any ID Registration & Switching Centralized Payment Gateway
e Business e Service B G Tax Transaction EBPP : EIPP ระบบกลางเพื่อรวบรวมใบแจ้งหนี้ และการชำระเงินทางเล็กทรอนิกส์ มาตรฐานกลางข้อมูล : ข้อมูลการค้า ข้อมูลชำระเงิน ข้อมูลภาษี บัตร e Tax invoice e-payment e VAT report system บัตรเดบิต e Witholdingtax system บัตรเครดิต VAT & Payment Tracking system National e-Payment card Any ID Registration & Switching EDC Bank account Bank account Centralized Payment Gateway อื่นๆ อื่นๆ Acquiring Pool National EDC card card Local Payment Switching Bank / Non-bank

7 Any ID Registration & Switching Centralized Payment Gateway
e Business e Service B G Card Transfer money Tax Transaction EBPP : EIPP ระบบกลางเพื่อรวบรวมใบแจ้งหนี้ และการชำระเงินทางเล็กทรอนิกส์ มาตรฐานกลางข้อมูล : ข้อมูลการค้า ข้อมูลชำระเงิน ข้อมูลภาษี บัตร e Tax invoice e-payment e VAT report system บัตรเดบิต e Witholdingtax system บัตรเครดิต VAT & Payment Tracking system National e-Payment card Any ID Registration & Switching EDC Bank account Bank account Any where Any time Any device Centralized Payment Gateway อื่นๆ อื่นๆ Acquiring Pool National EDC card card Local Payment Switching Bank / Non-bank

8 Timeline On process เปลี่ยนโครงสร้าง ระบบการชำระเงิน ของประเทศ
4 โครงการ e-payment ภาครัฐ 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐ ทางอิเล็กทรอนิกส์ 5 โครงการส่งเสริมการใช้ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ On process Timeline ทยอยแล้วเสร็จตั้งแต่ปี 59 ครบถ้วนสมบูรณ์ปี60-61 เกิดประโยชน์มหาศาล กับทุก Stakeholder ประชาชน ธุรกิจ Bank & Non-Bank รัฐบาล มีข้อมูลที่เกิดจากการทำ e-payment จำนวนมากและหลากหลาย ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม แต่งตั้งคณะกรรมการชุดใหญ่ และคณะอนุกรรมการ 4 ชุด ทำหน้าที่บริหารโครงการ เปลี่ยนโครงสร้าง ระบบการชำระเงิน ของประเทศ 3 โครงการระบบภาษี และเอกสารธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ 2 โครงการการ ขยายการใช้บัตร 1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID

9 โครงการที่ 1 : โครงการระบบการชำระเงินแบบ Any ID
ความคืบหน้า การพัฒนาโครงสร้างระบบการชำระเงินแบบ Any ID NITMX ได้คัดเลือกระบบของบริษัท VocaLink มาใช้ในการพัฒนาระบบการชำระเงินแบบ Any ID (Central Registration และ Switching) และแต่งตั้งบริษัท Deloitte เป็น Project Manager และ Business Consultant Project Manager ประสานกับธนาคารสมาชิกเพื่อพัฒนาระบบเชื่อมต่อ ซึ่งรวมทั้งด้านเทคนิคและวิธีปฏิบัติ ทางธุรกิจ ธปท. หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาความซ้ำซ้อนระหว่างเลขประจำตัว 13 หลักของบุคคลและนิติบุคคล (เชื่อมโยงกับโครงการ e-Payment ภาครัฐ) และเพื่อกำหนดมาตรฐาน e-Wallet ID (สมาคมผู้ให้บริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์) อยู่ระหว่างติดตามการกำหนดมาตรฐานข้อความด้านภาษีและการจ่ายสวัสดิการภาครัฐที่จะผ่านระบบการชำระเงินแบบ Any ID ระบบชำระเงินกลางที่ให้บริการโอนเงินระหว่างธนาคารโดยไม่ต้องใช้ เลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร เพื่อเพิ่มความสะดวกและส่งเสริม การทำธุรกรรมโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ และรองรับการโอนเงินสวัสดิการภาครัฐ แผนการดำเนินงานสำคัญ ลงทะเบียน Milestones กำหนดใหม่ ระบบพร้อมให้บริการลงทะเบียน Any ID 15 ก.ค. 59 ระบบพร้อมให้บริการจ่ายสวัสดิการโดยใช้เลขที่บัตรประชาชน 26 ก.ย. 59 ระบบพร้อมให้บริการชำระเงินผ่านเบอร์โทรศัพท์ 31 ต.ค. 59 ระบบพร้อมให้บริการชำระบิลด้วย Any ID ระบบพร้อมรับการเรียกเก็บเงิน (Request to Pay) รองรับ e-commerce 15 ธ.ค. 59 การดำเนินการในช่วงที่ผ่านมา บริษัท NITMX ได้คัดเลือกบริษัท VocaLink ซึ่งเป็นบริษัทที่พัฒนาระบบการโอนเงินโดยใช้เบอร์มือถือของ ประเทศอังกฤษ มาเป็นผู้พัฒนาระบบ Central Registration และระบบการโอนเงินด้วย Any ID นอกจากนี้ NITMX ได้แต่งตั้งบริษัท Deloitte เป็น Project Manager และ Business Consultant เพื่อบริหารจัดการโครงการและติดตามความคืบหน้าของ Stakeholder ที่เกี่ยวข้อง ในช่วงที่ผ่านมา NITMX สมาคมธนาคารไทย และ ธพ. ต่างๆ ได้ร่วมกันออกแบบระบบ เพื่อเตรียมการพัฒนา ทั้งในส่วนของระบบกลาง และระบบของ ธพ. แต่ละแห่งที่จะมาเชื่อมต่อกัน รวมทั้งประเด็นด้านธุรกิจ เช่น กระบวนการ พิธีปฏิบัติ ค่าธรรมเนียม เป็นต้น โดย ธปท. ติดตามความคืบหน้าอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ธปท. อยู่ระหว่างหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาความซ้ำซ้อนระหว่างเลขประจำตัว 13 หลักของบุคคลและนิติบุคคล (เชื่อมโยงกับโครงการ e-Payment ภาครัฐ) และเพื่อกำหนดมาตรฐาน e- Wallet ID (สมาคมผู้ให้บริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์) รวมทั้งติดตามการกำหนดมาตรฐานข้อความด้าน ภาษีและการจ่ายสวัสดิการภาครัฐที่จะผ่านระบบการชำระเงินแบบ Any ID สำหรับประเด็นเพื่อพิจารณา ขอเรียนเสนอคณะกรรมการ เพื่อให้ความเห็นชอบปรับกรอบเวลาการพัฒนาระบบ Any ID จากแผนงานที่กำหนดไว้เพียงเล็กน้อย เนื่องจากระบบของ VocaLink มีความแตกต่างกับวิธีการส่งข้อมูลของไทย จึงต้องปรับแก้ระบบและทดสอบเพิ่มเติม เพื่อให้มั่นใจว่าระบบทั้งด้าน NITMX และ ธพ. มีความถูกต้อง ทำให้ต้องปรับ กรอบเวลาการดำเนินงานบางส่วน เช่น ระบบลงทะเบียนกลาง : ช้ากว่าแผนเดิมประมาณ 2 สัปดาห์ (จาก มิ.ย. เป็น 15 ก.ค. 59) ระบบการโอนเงินโดยใช้เลขที่บัตรประชาชน : กรอบเวลายังคงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง (ก.ย. 59) ระบบการชำระเงินโดยใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือ : ช้ากว่าแผนเดิม 1 เดือน (จาก ก.ย. เป็น ต.ค. 59) จึงขอเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณากรอบเวลาที่สำคัญในการพัฒนาระบบ Any ID บัญชี เงินฝาก ธนาคารของเจ้าของID สาขาธนาคาร รับโอน ATM บัญชี เงินฝาก ธนาคารของเจ้าของเบอร์โทรศัพท์ Internet Banking จ่ายโอน Mobile Banking การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

10 กลัวคนอื่นจะรู้ข้อมูลส่วนตัวของเราแล้วนำไปใช้โดยเราไม่อนุญาติ
กลัวคนอื่นจะมาเอาเงินในบัญชี ของเราออกไปโดยเราไม่รู้ตัว และไม่อนุญาติ ความมั่นคงปลอดภัย (Security) มาตรฐานสากล ค่าธรรมเนียม (Fee Structure) เหมาะสม เอื้อให้ใช้ แทนเงินสด การให้บริการ (Business Rule) ครอบคลุมธุรกรรมหลากหลาย C2C B2B B2C C2B G2C C2G C2C C2B B2B B2C G2C G2B B2G C2G

11 การโอนเงินแบบเดิม 2 1 3 ระบบปิด ที่ NITMX ดูแล
คนภายนอกไม่สามารถเข้าถึงได้ผ่านช่องทาง Internet ทั่วไป กลัวคนอื่นจะรู้ข้อมูลส่วนตัวของเราแล้วนำไปใช้โดยเราไม่อนุญาติ กลัวคนอื่นจะมาเอาเงินในบัญชี ของเราออกไปโดยเราไม่รู้ตัวและไม่อนุญาติ ช้อมูส่วนตัวที่นำไปลงทะเบียนมีความปลอดภัย ธนาคารไม่สามารถนำไปเปิดเผยได้ เพราะมีกฎหมายควมคุมและ ธปท.ตรวจสอบสม่ำเสมอ การโอนเงินแบบเดิม 2 1 3 ระบบกลางให้บริการโดยบริษัท NITMX ซึ่งเป็นผู้ดูแลและให้บริการระบบกลาง ATM Pool และระบบการชำระเงินผ่านธนาคารนานกว่า 20 ปี ระบบพร้อมเพย์ ออกแบบและพัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านระบบการชำระเงิน และผู้พัฒนาระบบการชำระเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ เช่น ประเทศอังกฤษ (8 ปี) และ สิงคโปร์ (2 ปี) ไม่กลัวอะไรเลย เพราะคุ้นชิน และไม่เคยมีปัญหา มั่นใจทุกครั้งที่ทำธุรกรรมการเงิน

12 ระบบการชำระเงินแบบ Any ID
องค์ประกอบ Deloitte เป็น Project Manager / กำหนด Technical Spec. / Business Rules และเริ่มพัฒนาระบบ ระบบปิด ที่ NITMX ดูแล คนภายนอกไม่สามารถเข้าถึงได้ผ่านช่องทาง Internet ทั่วไป เริ่มพัฒนาระบบภายในของแต่ละ ธพ. ธปท. และ TBA ร่วมกับโครงการ 5 เพื่อให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ 1. Switching (NITMX) 2. Member Banks 3. Customers ดูแล Security Central Registration Services & Channels Register ธปท. ติดตาม มีระบบตรวจ Mobile # ประชาชน 15 ก.ค. 59 เบอร์โทรศัพท์มือถือ เลขที่บัตรประชาชน Central Database Store Bank Acct. Details (actual or dummy) Enhance Banking Services & Channels การลงทะเบียน De-register Registration / Update / Lookup / Enquiry Branch ยกเลิกโดยลูกค้า ยกเลิกโดยธนาคาร เช่น บัญชีถูกปิด หรือโดน Hack Mobile Banking ระบบกลางไม่มี Limit กำหนด Fee ที่เหมาะสม Switch Payment Service Fees Internet Banking Operate Real-time Switch, Settlement, Reconciliation and Related Back-office Services Bulk Payment 26 ก.ย. 59 Single Payment 31 ต.ค. 59 การโอนเงิน ATM Bill Payment 31 ต.ค. 59 Request to Pay 15 ธ.ค. 59 พิจารณากำหนด Business rules ธปท. ติดตามดูแลความคืบหน้าโครงการ / การกำกับดูแล / การใช้ประโยชน์จากข้อมูล การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

13 การพิสูจน์ตัวตนความเป็นเจ้าของ ของผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
โดย กสทช. ร่วมกับ Telco กด * 179 * เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก # และโทรออก ID 13 หลัก x-xxxx-xxxxx-xx-x ตรงกับเบอร์ xx-xxxx-xxxx ID 13 หลัก x-xxxx-xxxxx-xx-x ไม่ตรงกับเบอร์ xx-xxxx-xxxx

14

15

16 โครงการที่ 2 : การขยายการใช้บัตร
กรอบการดำเนินงาน (Key Success Factors) การขับเคลื่อนภาครัฐ กำหนดให้กลุ่มเป้าหมาย ทั้งนิติบุคคลและหน่วยงานภาครัฐ ติดตั้งอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้แรงจูงใจกับประชาชนและร้านค้า รวมทั้งให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้วางอุปกรณ์ตามนโยบายของรัฐบาล ผลักดันการใช้ e-Payment ผ่านบัตร ในระบบการรับ/จ่ายเงินภาครัฐและการส่งเงินสวัสดิการของรัฐบาล 1 400,000 หน่วยงาน/ร้านค้า (20, , ,000) +xxxxxxx หน่วย การขับเคลื่อนภาคธุรกิจ 2 การรับบัตร ร้านค้า & หน่วยงานภาครัฐ การออกบัตร ธนาคาร การกระจายอุปกรณ์ ผู้ให้บริการ โครงการที่ 2 การขยายการใช้บัตร มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการชำระเงินด้วยบัตรแทนการใช้เงินสด ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชน คณะอนุกรรมการฯ จึงได้วางกรอบการดำเนินงาน ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนทั้งจากทั้ง 3 ภาคส่วน การขับเคลื่อนภาครัฐ - โดยภาครัฐกำหนดกลุ่มเป้าหมายร้านค้าและหน่วยงานราชการที่ควรติดตั้งอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับออกประกาศกำหนดให้ติดตั้งอุปกรณ์ เพื่อให้มีจุดรับบัตรที่แพร่หลาย - รวมถึงควรมีมาตรการส่งเสริมจูงใจการใช้บัตร และการกระจายอุปกรณ์รับเงินให้แพร่หลาย เช่น การให้สิทธิประโยชน์กับผู้ใช้จ่ายผ่านบัตร ร้านค้า และผู้ให้บริการวางอุปกรณ์รับชำระเงินตามนโยบายรัฐบาล - และผลักดันให้หน่วยงานของรัฐ ใช้บัตรสำหรับการจ่ายเงินต่างๆ เช่น การจ่ายเงินสวัสดิการผ่านบัตร และการจัดซื้อของภาครัฐผ่านบัตร 2. การขับเคลื่อนภาคธุรกิจ - จะเกี่ยวข้องกับ 3 กลุ่ม คือ ด้าน คือ การรับบัตร การออกบัตร และการกระจายอุปกรณ์ - ภาคธุรกิจ/ร้านค้าที่รับบัตร ต้องค่าธรรมเนียมการรับบัตรที่เหมาะสม และมีมาตรการจูงใจให้กับร้านค้า - ภาคธนาคาร ซึ่งเป็นผู้ออกบัตร ต้องออกบัตรชิปการ์ดที่มีความปลอดภัย โดยเฉพาะบัตร local card brand ที่มีต้นทุนต่ำกว่า international brand รวมถึงพิจารณาการออกเกณฑ์เพื่อลดต้นทุนของการใช้บัตร เช่น เกณฑ์ที่กำหนดให้รายการที่ใช้จ่ายในประเทศผ่านบัตร ต้อง Switch ภายในประเทศ - การกระจายอุปกรณ์ เพื่อผลักดันการกระจายอุปกรณ์ให้ทั่วถึง รวมถึงสามารถรองรับการใช้เงินสวัสดิการผ่านบัตร และสามารถนำส่งข้อมูลภาษีให้กับกรมสรรพากร 3. การขับเคลื่อนภาคประชาชน - จำเป็นต้องมีการให้ความรู้ความเข้าใจ และมีมาตรการจูงใจให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมมาใช้บัตรแทนเงินสด โดยจะเชื่อมโยงกับการดำเนินงานผ่านโครงการที่ 5 - ติดตั้งอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ - มีค่าธรรมเนียมที่หมาะสม - มีมาตรการจูงใจ ธนาคารออกบัตรชิปการ์ดที่มีความ ปลอดภัย ต้นทุนลดลง (Local Card Brand และการออกเกณฑ์ Local Switching) ผลักดันการกระจายอุปกรณ์ให้ทั่วถึง รองรับการจ่ายสวัสดิการ รวมทั้งการเชื่อมโยงข้อมูล การชำระเงินกับภาครัฐ การขับเคลื่อนภาคประชาชน 3 การให้ความรู้ความเข้าใจในการใช้บริการ มาตรการกระตุ้นและจูงใจให้ใช้บัตรแทนการใช้เงินสด (เช่น การชิงโชค) และการมีค่าธรรมเนียมที่เหมาะสม (เชื่อมโยงกับโครงการที่ 5: การให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์) การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

17 โครงการที่ 2 : การขยายการใช้บัตร
กรอบการดำเนินงาน (Key Success Factors) การขับเคลื่อนภาครัฐ กำหนดให้กลุ่มเป้าหมาย ทั้งนิติบุคคลและหน่วยงานภาครัฐ ติดตั้งอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้แรงจูงใจกับประชาชนและร้านค้า รวมทั้งให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้วางอุปกรณ์ตามนโยบายของรัฐบาล ผลักดันการใช้ e-Payment ผ่านบัตร ในระบบการรับ/จ่ายเงินภาครัฐและการส่งเงินสวัสดิการของรัฐบาล 1 มติ ครม. 28 มิย. 59 เห็นชอบในหลักการให้หน่วยงานภาครัฐที่มีการรับเงินจากประชาชน เช่น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครอง ท้องถิ่น เป็นต้น ติดตั้งอุปกรณ์ชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้เพียงพอต่อความต้องการให้บริการประชาชน โดยเริ่มดำเนินการติดตั้งภายในเดือนกันยายน และติดตั้งให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน ทั้งนี้ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับปรุงระเบียบและหลักเกณฑ์เพื่อรองรับการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเร็ว และให้ดำเนินการตามแนวทางที่คณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment กำหนด การขับเคลื่อนภาคธุรกิจ 2 การรับบัตร ร้านค้า & หน่วยงานภาครัฐ การออกบัตร ธนาคาร การกระจายอุปกรณ์ ผู้ให้บริการ โครงการที่ 2 การขยายการใช้บัตร มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการชำระเงินด้วยบัตรแทนการใช้เงินสด ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชน คณะอนุกรรมการฯ จึงได้วางกรอบการดำเนินงาน ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนทั้งจากทั้ง 3 ภาคส่วน การขับเคลื่อนภาครัฐ - โดยภาครัฐกำหนดกลุ่มเป้าหมายร้านค้าและหน่วยงานราชการที่ควรติดตั้งอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับออกประกาศกำหนดให้ติดตั้งอุปกรณ์ เพื่อให้มีจุดรับบัตรที่แพร่หลาย - รวมถึงควรมีมาตรการส่งเสริมจูงใจการใช้บัตร และการกระจายอุปกรณ์รับเงินให้แพร่หลาย เช่น การให้สิทธิประโยชน์กับผู้ใช้จ่ายผ่านบัตร ร้านค้า และผู้ให้บริการวางอุปกรณ์รับชำระเงินตามนโยบายรัฐบาล - และผลักดันให้หน่วยงานของรัฐ ใช้บัตรสำหรับการจ่ายเงินต่างๆ เช่น การจ่ายเงินสวัสดิการผ่านบัตร และการจัดซื้อของภาครัฐผ่านบัตร 2. การขับเคลื่อนภาคธุรกิจ - จะเกี่ยวข้องกับ 3 กลุ่ม คือ ด้าน คือ การรับบัตร การออกบัตร และการกระจายอุปกรณ์ - ภาคธุรกิจ/ร้านค้าที่รับบัตร ต้องค่าธรรมเนียมการรับบัตรที่เหมาะสม และมีมาตรการจูงใจให้กับร้านค้า - ภาคธนาคาร ซึ่งเป็นผู้ออกบัตร ต้องออกบัตรชิปการ์ดที่มีความปลอดภัย โดยเฉพาะบัตร local card brand ที่มีต้นทุนต่ำกว่า international brand รวมถึงพิจารณาการออกเกณฑ์เพื่อลดต้นทุนของการใช้บัตร เช่น เกณฑ์ที่กำหนดให้รายการที่ใช้จ่ายในประเทศผ่านบัตร ต้อง Switch ภายในประเทศ - การกระจายอุปกรณ์ เพื่อผลักดันการกระจายอุปกรณ์ให้ทั่วถึง รวมถึงสามารถรองรับการใช้เงินสวัสดิการผ่านบัตร และสามารถนำส่งข้อมูลภาษีให้กับกรมสรรพากร 3. การขับเคลื่อนภาคประชาชน - จำเป็นต้องมีการให้ความรู้ความเข้าใจ และมีมาตรการจูงใจให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมมาใช้บัตรแทนเงินสด โดยจะเชื่อมโยงกับการดำเนินงานผ่านโครงการที่ 5 - ติดตั้งอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ - มีค่าธรรมเนียมที่หมาะสม - มีมาตรการจูงใจ ธนาคารออกบัตรชิปการ์ดที่มีความ ปลอดภัย ต้นทุนลดลง (Local Card Brand และการออกเกณฑ์ Local Switching) ผลักดันการกระจายอุปกรณ์ให้ทั่วถึง รองรับการจ่ายสวัสดิการ รวมทั้งการเชื่อมโยงข้อมูล การชำระเงินกับภาครัฐ การขับเคลื่อนภาคประชาชน 3 การให้ความรู้ความเข้าใจในการใช้บริการ มาตรการกระตุ้นและจูงใจให้ใช้บัตรแทนการใช้เงินสด (เช่น การชิงโชค) และการมีค่าธรรมเนียมที่เหมาะสม (เชื่อมโยงกับโครงการที่ 5: การให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์) การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

18 โครงการ 3 : ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ความคืบหน้า ภาพรวมโครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ e-Tax Invoice / e-Receipt e-Withholding Tax ข้อมูลจาก e-Payment เชิญเลขานุการคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการที่ 3 (ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์) รายงานความคืบหน้าและเรื่องเพื่อพิจารณา การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

19 โครงการที่ 4 : e-Payment ภาครัฐ
ความคืบหน้า 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม (หน่วยงานเจ้าของสวัสดิการ กระทรวงมหาดไทย และกรมบัญชีกลาง เป็นเจ้าภาพ) 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงิน ภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ (กรมบัญชีกลางเป็นเจ้าภาพ) การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

20 วางหลักการ

21 ขารับ ขาจ่าย G F M I S สนับสนุน

22 ขารับ

23 ขาจ่าย

24 CGD e-payment

25 CGD e-payment

26 ขอเบิก จัดเก็บ นำส่ง ขอจ่าย ขารับ ขาจ่าย GFMIS Cash , Cheque Cheque
Indirect Direct Cash , Cheque Bank Account

27 บทสรุป ขารับ ขาจ่าย TR GFMIS จัดเก็บ นำส่ง ขอจ่าย ขอเบิก
บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ นำส่ง กำหนดให้ ส่วนราชการ จ่ายเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น TR บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ ขอจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ GFMIS บัญชีเงินฝากธนาคาร กรมบัญชีกลาง Direct Payment Indirect Payment กำหนดให้ ส่วนราชการ รับเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น ขอเบิก ขาจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ

28 บทสรุป 1 6 2 4 5 3 8 9 7 ขารับ 16 15 14 12 10 11 13 ขาจ่าย TR GFMIS
จัดเก็บ ขารับ บทสรุป 1 บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ 6 นำส่ง กำหนดให้ ส่วนราชการ จ่ายเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น TR บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ 16 2 4 บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ ขอจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ 15 14 GFMIS 5 3 บัญชีเงินฝากธนาคาร กรมบัญชีกลาง Direct Payment Indirect Payment 8 กำหนดให้ ส่วนราชการ รับเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น 12 9 10 11 7 13 ขอเบิก ขาจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ

29 โครงการ 4 e-payment ภาครัฐ
ปี 60

30 โครงการ e-payment ภาครัฐ
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้านรับเงิน ด้านจ่ายเงิน หน่วยงาน ราชการ ประชาชน 1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID 3 โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 2 โครงการการขยายการใช้บัตร 5 โครงการส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

31 แนวทางดำเนินการ

32 1 ส่วนราชการ บัตร EDC 16 สค.56 1 4 หน่วยงานราชการ 2 2 3
หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการรับเงินของส่วนราชการ ด้วยบัตร (บัตรเดบิต/บัตรเครดิต) 1 ส่วนราชการ บัตร 16 สค.56 2 โครงการ ขยายการใช้บัตร บริการ ผู้รับบริการ ผู้ชำระเงิน 1 ส่วนราชการ 4 ใบเสร็จรับเงิน เพิ่มความสะดวกรวดเร็ว ออก e-ใบเสร็จรับเงิน หรือใบแทนใบเสร็จรับเงิน ปรับปรุงแนวทาง การตรวจสอบสิ้นวัน หน่วยงานราชการ 2 EDC 2 บัตร เดบิต EDC 3 Slip ธนาคาร บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของผู้ถือบัตร ธนาคาร บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ

33 บัตร EDC มติ ครม. 28 มิย. 59กรมบัญชีกลาง คณะกรรมการ National e-Payment
มอบหมาย ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานคัดเลือก ผู้ให้บริการ บัตร 2 โครงการ ขยายการใช้บัตร มติ ครม. 28 มิย. 59กรมบัญชีกลาง สั่งการให้ส่วนราชการทราบ แนวทางการวางเครื่อง EDC เพื่อเตรียมการแต่เนิ่นๆ และประสานกระทรวงมหาดไทยสั่งการท้องถิ่นในทำนองเดียวกัน หน่วยงานราชการ EDC

34 เริ่มที่บัตรเดบิตก่อน
ผู้ให้บริการที่ผ่านการคัดเลือกจะนำ EDC มาวางให้หน่วยงานของรัฐ ที่มีการรับเงินจากประชาชน หน่วยงานละ 1 เครื่อง หรือมากกว่าก็ได้ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย เริ่มวางเครื่องตั้งแต่ กันยายน 2559 ถึง กันยายน 2560 บัตร 2 โครงการ ขยายการใช้บัตร เมื่อมีการนำบัตรมารูดที่เครื่อง EDC จะมีค่าธรรมเนียม ซึ่งตกลงกับ ธปท. ให้ไปเจรจากับผู้ให้บริการให้คิดค่าธรรมเนียมเป็นราย Transaction ในอัตราต่ำเป็นพิเศษ แต่หน่วยงานรัฐไม่ต้องเสีย มีหน้าที่ใช้เท่านั้น กรมบัญชีกลางจะตั้งงบประมาณจ่ายแทนให้ และจะจ่ายแบบเหมาจ่ายในทำนองเดียวกับจ่ายค่าธรรมเนียม Indirect payment GFMIS หน่วยงานราชการ EDC เริ่มที่บัตรเดบิตก่อน

35 หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการรับเงินกรณีผู้เสนอราคา
ซื้อเอกสารจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ 2 3 กค.และ 21 กย. 58 ผู้เสนอราคา e เอกสาร ประกวดราคา 1 2 ส่วนราชการ 6 eGP code e-Bidding Transfer money เอกสารธนาคาร แทนใบเสร็จรับเงิน 4 6 5 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ 3 วันทำการถัดมา ธนาคาร พาณิชย์ ทุกธนาคาร KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บก. บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บก.

36 หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการรับเงินกรณีผู้เสนอราคา
ซื้อเอกสารจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ 2 3 กค.และ 21 กย. 58 ผู้เสนอราคา e เอกสาร ประกวดราคา 1 2 ส่วนราชการ 6 eGP code e-Bidding Transfer money เอกสารธนาคาร แทนใบเสร็จรับเงิน 4 6 5 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ 3 สิ้นวันทำการที่โอนงิน และวันทำการถัดไป รายงานสรุป การโอนเงิน วันทำการถัดมา ธนาคาร พาณิชย์ ทุกธนาคาร ธนาคาร ของส่วนราชการ 5 KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บก. บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บก. เปิดบัญชีใหม่/บัญชีเดิม(ถ้ามี) และสมัครขอใช้บริการ KTB Corporate Online : Bill Payment

37 3 Agency 1 ผู้ประกอบการ 5 2 e-Service ส่วนราชการ 3 6 ธนาคาร 4
หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการรับเงินของส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 3 กรณีส่วนราชการมีระบบ e-Service ว.77 ลว. 6 กรกฎาคม 59 เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ 1 ตุลาคม 59 เป็นต้นไป ผู้ประกอบการ 5 e ใบอนุญาต ใบรับรอง -ชื่อ สรก. ที่รับชำระเงิน -ชื่อผู้ชำระเงิน -รายการ/ประเภทรายได้ที่รับชำระเงิน -จำนวนเงินที่รับชำระ -วันที่รับชำระ Company code / Reference code 2 Internet Banking ATM Mobile Payment e-payment Agency e-Service code ส่วนราชการ 1 เอกสารธนาคาร แทนใบเสร็จรับเงิน 3 สิ้นวันทำการที่โอนงิน และวันทำการถัดไป รายงานสรุป การโอนเงิน ธนาคาร 6 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ KTB Corporate Online 4 เปิดบัญชีใหม่/บัญชีเดิม(ถ้ามี) และสมัครขอใช้บริการ KTB Corporate Online : Bill Payment

38 ให้การตกลงแล้ว ขยายผลออกไปอีก
Agency e-Service Agency e-Service central e-Service ขยายผลออกไปอีก

39 e-Service Front Back e-Service e-Payment Agency Agency Agency NSW
central e-Service e-Service Front Agency e-Service eGP central e-Service e-Service Back Agency e-Service central e-Service e-Payment

40 4 5 2 1 3 4 ผู้ประกอบการ ส่วนราชการ 6 ธนาคาร
หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการรับเงินของส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4 กรณีส่วนราชการไม่มีระบบ e-Service ว.77 ลว. 6 กรกฎาคม 59 เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ 1 ตุลาคม 59 เป็นต้นไป ผู้ประกอบการ 5 ใบอนุญาต ใบรับรอง -ชื่อ สรก. ที่รับชำระเงิน -ชื่อผู้ชำระเงิน -รายการ/ประเภทรายได้ที่รับชำระเงิน -จำนวนเงินที่รับชำระ -วันที่รับชำระ Company code / Reference code 2 code Internet Banking ATM Mobilel Payment e-payment ใบแจ้งการ ชำระเงิน 1 ส่วนราชการ เอกสารธนาคาร แทนใบเสร็จรับเงิน 3 สิ้นวันทำการที่โอนงิน และวันทำการถัดไป รายงานสรุป การโอนเงิน ธนาคาร 6 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ KTB Corporate Online 4 เปิดบัญชีใหม่/บัญชีเดิม(ถ้ามี) และสมัครขอใช้บริการ KTB Corporate Online : Bill Payment

41 G F M I S 5 To be As is TR 1 การนำเงินส่งคลัง ส่วนราชการ กระ ทบ ยอด
บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ ที่เปิดใหม่/เดิม Cheque Transfer money Pay in KTB Corporate Online Cheque Data Pay in Key in ข้อมูลนำส่งเงิน บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ ที่เปิดใหม่/เดิม Cheque สมัครขอใช้บริการ KTB Corporate Online : GFMIS(Single) Transfer money กระ ทบ ยอด Pay in G F M I S Cheque Data บัญชีเงินฝาก KTB นำเงินส่งคลัง ของกรมบัญชีกลาง คลังจังหวัด Pay in Key in ข้อมูลนำส่งเงิน บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ ที่เปิดใหม่/เดิม Cheque Transfer money Pay in TR 1 ว.76 ลว. 6 กรกฎาคม 59 เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ 1 ตุลาคม 59 เป็นต้นไป Cheque Data Pay in Key in ข้อมูลนำส่งเงิน

42 ระบบกลางรับเงินและนำเงินส่งคลังด้วยอิเล็กทรอนิกส์
6 ผู้รับบริการ/ ผู้ชำระเงิน Document /Service 10 1 ส่วนราชการ 2 M D 4 3 M D Internet Banking ATM Bill Payment e-payment code 9 Government e-payment System ข้อมูลรับเงิน ข้อมูลโอนเงิน ข้อมูลนำเงินส่งคลัง กระทบยอดถูกต้อง Code M D GFMIS e-Bidding code เอกสารธนาคาร แทนใบเสร็จรับเงิน 5 788 6 7 TR 1 ธนาคาร พาณิชย์ ทุกธนาคาร บัญชีเงินฝาก KTB นำเงินส่งคลัง KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บก.

43 6 ผู้รับบริการ ส่วนราชการ Agency Non e-Service ขอรับบริการ รับเริ่อง 1 2 3 คิดค่า ธรรมเนียม 4 ดำเนินการให้บริการตามขั้นตอน 13 24 5 7 25 Menu Menu Menu Slip Code มอบผู้รับบริการ 17 เข้ามาตรวจสอบรายการรับเงินตาม Code เข้ามาตรวจสอบรายการนำเงินส่งคลังตาม Code 6 ออก Codeพิมพ์ Slip Code ออก ใบรับรอง พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน บันทึกบัญชีรับเงินตาม GFMIS บันทึกบัญชีนำเงินส่งคลังตาม GFMIS รับ ใบรับรอง 26 14 15 19 18 16 รับใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน Gen Code ตรวจสอบ Matching ออกใบเสร็จรับ เงิน ทำรายการรับเงินของสรก. ตรวจสอบ Matching ทำรายการนำเงินส่งคลัง GFMIS ระบบรับเงิน ระบบนำส่งเงิน ชำระเงินผ่านธนาคาร Counter Bank Internet Banking Mobile banking รับชำระเงิน เข้าบัญชี CGD ตาม Code สิ้นวันส่งข้อมูลโอนจากบัญชี CGD เข้าKTB CGD ตาม Code ส่งข้อมูลรับโอนเงิน 28 ส่งข้อมูลรับชำระเงินตาม Code 21 ส่งข้อมูลรับโอนเงินตาม Code ส่งข้อมูลโอนเงิน เข้า TR 23 9 10 12 8 ถึงเวลา โอนจากบัญชี KTB CGD ตาม Code เข้า TR 20 รับโอนเงิน เข้าบัญชี เข้าKTB CGD ตาม Code 22 27 11 สิ้นวันโอนเงินจากบัญชี CGD เข้าKTB CGD รับโอนเงิน เข้าบัญชี TR ธนาคารพาณิชย์ KTB BOT

44 6 GFMIS Agency e-Service Menu Menu Menu Gen Code ผู้รับบริการ
ส่วนราชการ Agency e-Service ขอรับบริการ รับเริ่อง คิดค่า ธรรมเนียม ดำเนินการให้บริการตามขั้นตอน Menu Menu Menu Slip Code มอบผู้รับบริการ เข้ามาตรวจสอบรายการรับเงินตาม Code เข้ามาตรวจสอบรายการนำเงินส่งคลังตาม Code ออก Codeพิมพ์ Slip Code ออก ใบรับรอง พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน บันทึกบัญชีรับเงินตาม GFMIS บันทึกบัญชีนำเงินส่งคลังตาม GFMIS รับ ใบรับรอง รับใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน Gen Code ตรวจสอบ Matching ออกใบเสร็จรับ เงิน ทำรายการรับเงินของสรก. ตรวจสอบ Matching ทำรายการนำเงินส่งคลัง GFMIS ระบบรับเงิน ระบบนำส่งเงิน ชำระเงินผ่านธนาคาร Counter Bank Internet Banking Mobile banking รับชำระเงิน เข้าบัญชี CGD ตาม Code สิ้นวันส่งข้อมูลโอนจากบัญชี CGD เข้าKTB CGD ตาม Code ส่งข้อมูลรับโอนเงิน ส่งข้อมูลรับชำระเงินตาม Code ส่งข้อมูลรับโอนเงินตาม Code ส่งข้อมูลโอนเงิน เข้า TR ถึงเวลา โอนจากบัญชี KTB CGD ตาม Code เข้า TR รับโอนเงิน เข้าบัญชี เข้าKTB CGD ตาม Code สิ้นวันโอนเงินจากบัญชี CGD เข้าKTB CGD รับโอนเงิน เข้าบัญชี TR ธนาคารพาณิชย์ KTB BOT

45 ขารับ 100% -

46 ได้เท่านี้ ก็ได้ Target แล้ว 1-5 ได้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นอีก 6

47 Government e-payment System
Step by step Government e-payment System Electronic Transfer money Transfer money Manual Paper Electronic Electronic Transfer money Transfer money Manual Paper Manual Paper

48 แนวทางดำเนินการ

49 7 จ่ายเงินด้วยบัตร บัตร บัตรเครดิตราชการ 30 กย.50
ปรับปรุงและสั่งการให้ปฏิบัติแล้ว เมื่อ 30 พฤษภาคม 59 บัตรเครดิตราชการ 30 กย.50 บัตรเติมน้ำมันรถราชการ 18 ธค.54 ปรับปรุงให้ดีขึ้นอีก ขั้นตอนและเอกสาร การออก การใช้ และการตรวจสอบ การหักภาษี ณ ที่จ่าย ทำให้ง่าย สะดวก ไม่ยุ่งยาก งานไม่เพิ่ม ส่งเสริมการใช้บัตร

50 หลักเกณฑ์การใช้บัตรเครดิตราชการ
2 โครงการ ขยายการใช้บัตร ร้านค้า EDC การประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการ e-Payment ภาครัฐ ครั้งที่ 3/2559

51 บัตรเติมน้ำมันรถราชการ
3 โครงการระบบ ภาษีและ เอกสาร ธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ภาษี หัก ณ ที่จ่าย ผู้ให้บริการ หน่วยงาน ปั๊มน้ำมัน ราชการ บัตรเติมน้ำมันรถราชการ

52 การออก การใช้ และการตรวจสอบ ง่ายสะดวกไม่ยุ่งยาก มีตัวช่วยทำงาน
8 จ่ายเงินด้วยบัตร บัตรประเภทอื่นๆ บัตร บัตรจัดซื้อ 2 โครงการ ขยายการใช้บัตร ต้องทำให้ ขั้นตอนและเอกสาร การออก การใช้ และการตรวจสอบ ง่ายสะดวกไม่ยุ่งยาก มีตัวช่วยทำงาน งานไม่เพิ่ม ทำเป็น ระบบงาน ย่อยใน eGP ร้านค้า EDC Case นี้เป็นบัตรบุคคลไม่มีเรื่องภาษี

53 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ร้านค้า หมายถึง 1 นิติบุคคล +VAT 2 บุคคลธรรมดา +VAT 3 บุคคลธรรมดา nonVAT ( ขนาดเล็ก ) อาจให้วางเงินมัดจำเครื่อง EDC หรือให้ hold เงินในบัญชีเงินฝากไว้ และอาจถูกเรียกเก็บค่าใช้จ่ายบ้าง เริ่มวางเครื่องตั้งแต่ สิงหาคม 2559 ถึงมิถุนายน ถึง 2561 กรมสรรพากร บัตร 2 โครงการ ขยายการใช้บัตร เมื่อมีการนำบัตรมารูดที่เครื่อง EDC ของร้านค้า จะมีค่าธรรมเนียม ซึ่งผู้ให้บริการจะเรียกเก็บจากร้านค้า ตามอัตราที่ต่ำเพียงพอที่จะส่งเสริมให้เกิดการใช้บัตรและรับบัตร ร้านค้า EDC

54 9 1 2 3 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินของส่วนราชการ
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 9 ว.36 ลว. 8 เมษายน 59 เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ 1 ตุลาคม 59 เป็นต้นไป 1 ค่าเล่าเรียนบุตร 2 ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม ค่าเช่าบ้าน OT ค่าตอบแทน คกก. ค่าตอบแทนการสอน ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นต้น 3 เงินยืมราชการ ข้าราชการ ส่วนราชการ 1 SMS PromptPay KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของข้าราชการ สมัครขอใช้ บริการ KTB Corporate Online Bulk Payment เต็มจำนวน 2 3 รายงานสรุป การโอนเงิน ใช้บัญชีสำหรับรับ เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ไม่ต้องลงลายมือชื่อรับเงิน ในแบบคำขอเบิกเงินใดๆ สิ้นวันทำการที่โอน้งิน ครั้งแรก เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน ธนาคาร ของข้าราชการ แบบแจ้งข้อมูล การรับโอนเงิน ผ่านระบบ KTB Corporate Online ข้อมูลผู้มีสิทธิ และบัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของส่วนราชการ ทะเบียนคุมการโอนเงิน ในระบบ Computer เพื่อใช้ตรวจสอบ ความถูกต้อง บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ Indirect payment GFMIS

55 10 1 2 3 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินของส่วนราชการ
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ว.36 ลว. 8 เมษายน 59 เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ 1 ตุลาคม 59 เป็นต้นไป เงินประเภท อื่นๆ 1 ค่าเล่าเรียนบุตร 2 ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม ค่าเช่าบ้าน OT ค่าตอบแทน คกก. ค่าตอบแทนการสอน ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นต้น 3 เงินยืมราชการ ข้าราชการ เจ้าหนี้ บุคคลภายนอก ส่วนราชการ 1 SMS PromptPay KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของข้าราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ บุคลภายนอก สมัครขอใช้ บริการ KTB Corporate Online Bulk Payment เต็มจำนวน 2 3 รายงานสรุป การโอนเงิน ไม่ต้องลงลายมือชื่อรับเงิน ในแบบคำขอเบิกเงินใดๆ สิ้นวันทำการที่โอน้งิน เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน ธนาคาร ของบุคคลภายนอก แบบแจ้งข้อมูล การรับโอนเงิน ผ่านระบบ KTB Corporate Online ข้อมูลผู้มีสิทธิ และบัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของส่วนราชการ ทะเบียนคุมการโอนเงิน ในระบบ Computer เพื่อใช้ตรวจสอบ ความถูกต้อง บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ Indirect payment GFMIS

56 11 1 2 3 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
กรณีถอนคืนเงินรายได้แผ่นดินประเภทค่าปรับ ว.75 ลว. 6 กรกฎาคม 59 เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ 1 ตุลาคม 59 เป็นต้นไป กรณีได้รับอนุมัติให้ถอนคืนข้ามปีงบประมาณ ให้จ่ายตรงจาก GFMIS เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ของผู้ได้รับคืนค่าปรับ ( Vender ใน GFMIS ) กรณีได้รับอนุมัติให้ถอนคืน ทันภายในปีงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน ประเภทค่าปรับ ที่ได้รับการอนุมัติ ให้ถอนคืน เงินประเภท อื่นๆ บุคคลภายนอก ผู้ได้รับการคืนค่าปรับ เจ้าหนี้ บุคลภายนอก ส่วนราชการ 1 SMS PromptPay KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ บุคลภายนอก สมัครขอใช้ บริการ KTB Corporate Online Bulk Payment เต็มจำนวน 2 3 รายงานสรุป การโอนเงิน ไม่ต้องลงลายมือชื่อรับเงิน ในแบบคำขอเบิกเงินใดๆ เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน สิ้นวันทำการที่โอน้งิน ธนาคาร ของบุคคลภายนอก แบบแจ้งข้อมูล การรับโอนเงิน ผ่านระบบ KTB Corporate Online ข้อมูลผู้มีสิทธิ และบัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของส่วนราชการ ทะเบียนคุมการโอนเงิน ในระบบ Computer เพื่อใช้ตรวจสอบ ความถูกต้อง บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ Indirect payment GFMIS

57 KTB Corporate GFMIS หน่วยเบิกจ่าย new ธปท. เดิม ธปท. PromptPay
รับเงิน บัญชี TR 1 ธปท. บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ นำเงินส่งคลัง เดิม (ถ้ามี) จ่ายเงิน เดิม บัญชีเงินฝาก TR กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ข้าราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บุคคลภายนอก บัญชี TR 2 ธปท. GFMIS เบิกเงินจากคลัง PromptPay

58 ว.77 6 กรกฎาคม 59 ว.76 6 กรกฎาคม 59 ว.36 8 เมษายน 59 ว.75 6 กรกฎาคม 59

59

60 และไม่คิดค่าใช้บริการรายเดือน
KTB Corporate Online Bill Payment GFMIS (Single) KTB พัฒนาระบบรองรับโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และไม่คิดค่าใช้บริการรายเดือน แล้วเสร็จ มิถุนายน 59 อบรมวิธีใช้งาน กรกฎาคม 59 เริ่มนำไปปฏิบัติ ต้นสิงหาคม 59 เป็นต้นไป KTB Corporate Online Bulk Payment

61 อบรมวิธีใช้งาน ส่วนภูมิภาคKTB สาขา ร่วมกับ สนง.คลังจังหวัด
Corporate Online Bill Payment GFMIS (Single) อบรมวิธีใช้งาน ส่วนกลางโดย KTB ส่วนภูมิภาคKTB สาขา ร่วมกับ สนง.คลังจังหวัด KTB Corporate Online Bill Payment Bulk Payment GFMIS (Single) KTB Corporate Online Bulk Payment

62 ผูกบัญชี กับระบบ จึงใช้งานได้ Bill Payment GFMIS (Single) BulkPayment
KTB Corporate Online Bill Payment GFMIS (Single) ผูกบัญชี กับระบบ จึงใช้งานได้ บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม KTB Corporate Online BulkPayment

63 หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย แจ้ง สาขา หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย แจ้ง สาขา
บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย แจ้ง สาขา บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย แจ้ง สาขา บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี)

64 หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย แจ้ง หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย ส่วนราชการ แจ้ง
บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน แจ้ง บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม แจ้ง บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย แจ้ง บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี)

65 ทยอยสมัครได้ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2559
MOU ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม สมัครขอใช้บริการ ทยอยสมัครได้ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2559 และให้แล้วเสร็จภายใน 1 ตุลาคม 2559

66 สาขา ส่วนราชการ KTB Corporate Online สนง.ใหญ่ สอบยัน ผูกบัญชีกับระบบ
เจ้าสังกัดระดับกรม KTB Corporate Online สนง.ใหญ่

67 สาขา ส่วนราชการ KTB Corporate Online สนง.ใหญ่ สอบยัน ผูกบัญชีกับระบบ
เจ้าสังกัดระดับกรม KTB Corporate Online สนง.ใหญ่ กำหนด Company code User name Password ให้ Admin

68 หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name ส่วนราชการ User name
KTB Corporate Online หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name Password ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม User name Password หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name Password หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย -กรอบแนวทางตาม KTB กำหนด -การรักษาความปลอดภัย ตามมาตรฐาน กำหนด Company code User name Password ให้ Admin

69 หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย download User name download
KTB Corporate Online หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย download User name Password KTB Corporate Online download หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name Password KTB Corporate Online download หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name Password

70 Start Transaction Start Transaction Start Transaction

71 Start Transaction

72 ส่งข้อมูลบัญชีไปเตรียมการ เปิดบัญชีใหม่/ใช้บัญชีเดิม
สรุปว่าต้องเตรียมการ หลายประการก่อนเริ่มต้นดำเนินการ 1 สค.59 Start Transaction 1 ตค.59 Download Program กำหนด User name , Password กำหนด Company code User name , Password ให้ Admin ผูกบัญชี ทำ MOU/สมัครขอใช้บริการ ส่งข้อมูลบัญชีไปเตรียมการ เปิดบัญชีใหม่/ใช้บัญชีเดิม อมรมวิธีใช้ระบบงาน กค.59 พัฒนา และTest ระบบงาน

73 KTB Corporate หน่วยเบิกจ่าย ธปท. รับเงิน บัญชี TR 1 นำเงินส่งคลัง เดิม
บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ นำเงินส่งคลัง เดิม (ถ้ามี) บัญชีเงินฝาก TR กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด KTB Corporate Online ส่วนราชการที่ได้รับการตกลงไว้แล้วก่อนหน้านี้ ให้เปิดบัญชี KTB เพื่อรับเงินและใช้ KTB Corporate Online เฉพาะส่วนราชการนั้น แนะนำให้นำบัญชี KTB ที่เปิดไว้เดิมเปลี่ยนมาผูกกับวง KTB Corporate Online ของกรมบัญชีกลาง เพื่อใช้งานทั้งรับเงินและนำเงินส่งคลัง

74 จะดำเนินการ ให้โดยเร็วต่อไป
หน่วยเบิกจ่าย new รับเงิน บัญชี TR 1 ธปท. บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ นำเงินส่งคลัง เดิม (ถ้ามี) จ่ายเงิน เดิม บัญชีเงินฝาก TR กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด จะดำเนินการ ให้โดยเร็วต่อไป KTB Corporate Online บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ข้าราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บุคคลภายนอก บัญชี TR 2 ธปท. GFMIS เบิกเงินจากคลัง PromptPay

75 Electronic Transfer money
12 ส่วนราชการ 100% ตั้งแต่ตุลาคม 59 เป็นต้นไป จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money 100% e-Payroll Transfer money ส่วนราชการ GFMIS 100% e-Pension 1 โครงการระบบ การชำระเงิน แบบ Any ID PromptPay Bank account ส่วนราชการ ข้าราชการ ลูกจ้าง ผู้รับบำนาญ โรงพยาบาล e-Medical

76 13 การจ่ายเงินสวัสดิการสังคม
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม สำนักบริหาร การทะเบียน ตรวจสอบ ข้อมูลบุคคล และสิทธิในสวัสดิการ ของบุคคลตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด ก่อนส่งให้ กรมบัญชีกลาง จ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิ ระบบ e-Social welfare ฐานข้อมูลจ่ายเงิน e-Social welfare

77

78 As is 2 1 8 3 5 6 4 7 กรมกิจการเด็กและเยาวชน GFMIS
เงินอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด นำร่อง:Quick win As is กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2 1 8 3 5 บัญชีเงิน ฝากธนาคาร ของกรมเด็กฯ GFMIS 6 4 จ่ายเงิน ให้ผู้มีสิทธิ 7

79 To be 1 A 2 1 10 F 3 5 6 4 B 7 9 E C D 8 Internal Control PromptPay
เงินอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด นำร่อง:Quick win กรมกิจการเด็กและเยาวชน To be 1 กรมการปกครอง ตรวจสอบ ข้อมูลบุคคล และสิทธิในสวัสดิการ ของบุคคลตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด A 2 1 10 F 3 5 Internal Control GFMIS 6 4 B บัญชีเงิน ฝากคลังของ กรมบัญชีกลาง 7 9 E PromptPay เลขบัตร ประชาชน โอนเงิน C ระบบ e-Social welfare D เลขบัตร ประชาชน 8 ฐานข้อมูลจ่ายเงิน e-Social welfare เลขบัตร ประชาชน

80 To be 2 A 2 1 10 F 3 5 6 4 B 7 9 E C D 8 Internal Control PromptPay
เงินอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด นำร่อง:Quick win กรมกิจการเด็กและเยาวชน To be 2 กรมการปกครอง ตรวจสอบ ข้อมูลบุคคล และสิทธิในสวัสดิการ ของบุคคลตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด A 2 1 10 F กรมบัญชีกลาง เบิกเงิน งบประมาณ ของกรมสวัสดิการเด็กฯ แทนกรมสวัสดิการเด็กฯ 3 5 Internal Control GFMIS 6 4 B บัญชีเงิน ฝากคลังของ กรมบัญชีกลาง 7 9 E PromptPay เลขบัตร ประชาชน โอนเงิน C ระบบ e-Social welfare D เลขบัตร ประชาชน 8 ฐานข้อมูลจ่ายเงิน e-Social welfare เลขบัตร ประชาชน

81 ต้นแบบ การจ่ายเงิน สวัสดิการสังคม A 2 1 10 F 3 5 6 4 B 7 9 E C D 8
เงินอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด นำร่อง:Quick win กรมกิจการเด็กและเยาวชน กรมการปกครอง ตรวจสอบ ข้อมูลบุคคล และสิทธิในสวัสดิการ ของบุคคลตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด A 2 1 10 F กรมบัญชีกลาง เบิกเงิน งบประมาณ ของกรมสวัสดิการเด็กฯ แทนกรมสวัสดิการเด็กฯ ต้นแบบ การจ่ายเงิน สวัสดิการสังคม 3 5 GFMIS 6 4 B 7 9 E PromptPay เลขบัตร ประชาชน โอนเงิน C ระบบ e-Social welfare D เลขบัตร ประชาชน 8 ฐานข้อมูลจ่ายเงิน e-Social welfare เลขบัตร ประชาชน

82

83

84 การจ่ายเงินสวัสดิการสังคม
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม บูรณาการ การจ่ายเงินสวัสดิการสังคม ส่วนขยาย การให้ความช่วยเหลือ ผู้มีรายได้น้อย

85 กรมสรรพากร 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม ฐานข้อมูล
ยื่นภาษีเงินได้ ผู้มีรายได้น้อย รักษาสิทธิในสว้สดิการ 15 กค.-15 สค. กรมสรรพากร ฐานข้อมูล ผู้มีรายได้น้อย 18 ล้านคน เกณฑ์ ผู้มีรายได้น้อย บัตร ประชาชน หลักฐาน อื่นๆ ขึ้นบัญชี Update ทุกปี ผู้มีรายได้น้อย

86 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม
ยื่นภาษีเงินได้ รักษาสิทธิในสว้สดิการ ฐานข้อมูล ผู้มีรายได้น้อย 18 ล้านคน กรมสรรพากร บัตร ประชาชน หลักฐาน อื่นๆ พิจารณาให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมต่อไป ขึ้นบัญชี Update ทุกปี ผู้มีรายได้น้อย

87 Phase 1 เพิ่มประสิทธิภาพ Phase 2 บรรลุประสิทธิผล
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม Phase 1 บูรณาการการจ่ายเงิน สวัสดิการสังคมและเงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย เพิ่มประสิทธิภาพ Internal Control ลดการรั่วไหล ถูกต้องถูกตัว ประหยัดงบประมาณนำไปใช้ประโยชน์ได้อีก ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน Phase 2 บรรลุประสิทธิผล บูรณาการฐานข้อมูล สวัสดิการสังคมและเงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม และการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย

88 Phase 1 เพิ่มประสิทธิภาพ Phase 2 บรรลุประสิทธิผล
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม Phase 1 บูรณาการการจ่ายเงิน สวัสดิการสังคมและเงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย เพิ่มประสิทธิภาพ Internal Control ลดการรั่วไหล ถูกต้องถูกตัว ประหยัดงบประมาณนำไปใช้ประโยชน์ได้อีก ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน Phase 2 บรรลุประสิทธิผล บูรณาการฐานข้อมูล สวัสดิการสังคมและเงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม และการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย

89 Phase 1 เพิ่มประสิทธิภาพ Phase 2 บรรลุประสิทธิผล
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม Phase 1 บูรณาการการจ่ายเงิน สวัสดิการสังคมและเงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย เพิ่มประสิทธิภาพ Internal Control ลดการรั่วไหล ถูกต้องถูกตัว ประหยัดงบประมาณนำไปใช้ประโยชน์ได้อีก ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน ส่วนเกิน ซ้ำซ้อน Phase 2 บรรลุประสิทธิผล บูรณาการฐานข้อมูล สวัสดิการสังคมและเงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม และการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย

90 ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม ประชาชน ผู้มีรายได้น้อย/ ผู้ที่รัฐต้องการ ให้ความช่วยเหลือโดยตรง ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม และการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย

91 หน่วยงานเจ้าของสิทธิ
สวัสดิการต่างๆ รองรับ การตรวจสอบสิทธิ์ จากระบบงาน ภายนอก สำนักบริหาร การทะเบียน 1 2 3 4 ข้อมูล สวัสดิการสังคม ขั้นต้น ข้อมูล สวัสดิการสังคม ตรวจสอบแล้ว พร้อมนำไปจ่ายเงิน ข้อมูล ประวัติการจ่ายเงิน ข้อมูล สวัสดิการสังคม ประเภทอื่นๆ ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม และการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย

92 ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม
ระยะเวลาด้น้อย ฐานข้อมูลกลางสวัสดิการสังคม และการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย จำนวนเงิน

93 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money เงินรายได้ของท้องถิ่น
14 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money การจ่ายเงินให้ อปท. หน่วยงานขอเบิกเงิน ใน GFMIS จากบัญชีของหน่วยงาน เข้าบัญชีของ อปท. เงินรายได้ของท้องถิ่น บัญชีเงินฝาก หน่วยงาน ใน GFMIS เงินอุดหนุน 1 กรมส่งเสริม การปกครอง ส่วนท้องถิ่น Auto run Direct payment 3 1 โครงการระบบ การชำระเงิน แบบ Any ID บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของ อปท. PromptPay VAT GFMIS กรมสรรพากร Vender ภาษีล้อเลื่อน บัญชีเงินฝาก อปท. ใน GFMIS อปท.ขอเบิกเงิน เข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารของ อปท. กรมการขนส่ง ทางบก 2 กรมบัญชีกลาง สั่งการ

94 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money
14 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money การจ่ายเงินให้ อปท. ดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ อปท. 1 2 eGP PO 3 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร เจ้าหนี้ ของ อปท. บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของอปท. โอนเงิน net ภาษี 5 4 กรมส่งเสริม การปกครอง ส่วนท้องถิ่น GFMIS 6 ดึงข้อมูล PO มาทำรายการ ขอเบิกและหักภาษี เบิกเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ให้ อปท. Cheque ใบหักภาษี ณ ที่จ่าย ผลักส่งเงินภาษี Cheque รายได้แผ่นดิน กรมสรรพากร กรมสรรพากร Vender ของ อปท.

95 รอ 15 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money
GFMIS Direct Payment + Vender PromptPay Any ID รอ ทยอยปรับ เป็นทางเลือกผู้รับเงิน 1. โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID

96 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money ค่าใช้จ่ายที่ต้องวาง
16 จ่ายเงินอื่นๆ Electronic Transfer money e-Form Quick win ค่าใช้จ่ายที่ต้องวาง ใบขอเบิก ผู้อนุมัติ GFMIS 3 การเงิน ส่วนราชการ 4 e-Form Transfer money 2 Internal control 1 PromptPay ข้าราชการ Direct payment 1 โครงการระบบ การชำระเงิน แบบ Any ID Vender Bank account

97 Electronic Transfer money
ขอเบิก ขอจ่าย GFMIS Direct Payment 100%

98 Electronic Transfer money
ขอเบิก ขอจ่าย 100% GFMIS Indirect Payment e-Social Welfare

99 Card & Transfer money ขอจ่าย ขอเบิก Pure GFMIS Indirect Payment 100% -

100 Step by step Electronic Transfer money GFMIS GFMIS Electronic
Local Card Electronic Transfer money e-Social Welfare e-Payroll e-Pension e- Medical Direct Indirect GFMIS GFMIS

101 1 6 2 4 5 3 8 9 7 ขารับ 16 15 14 12 10 11 13 ขาจ่าย TR GFMIS จัดเก็บ
บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ 6 นำส่ง กำหนดให้ ส่วนราชการ จ่ายเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น TR บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ 16 2 4 บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ ขอจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ 15 14 GFMIS 5 3 บัญชีเงินฝากธนาคาร กรมบัญชีกลาง Direct Payment Indirect Payment 8 กำหนดให้ ส่วนราชการ รับเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น 12 9 10 11 7 13 ขอเบิก ขาจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ

102 Step by step ขารับ ขาจ่าย TR GFMIS จัดเก็บ นำส่ง ขอจ่าย ขอเบิก
บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ นำส่ง กำหนดให้ ส่วนราชการ จ่ายเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น TR บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ ขอจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร ส่วนราชการ Step by step GFMIS บัญชีเงินฝากธนาคาร กรมบัญชีกลาง Direct Payment Indirect Payment กำหนดให้ ส่วนราชการ รับเงินด้วยบัตร และการโอนเงิน เข้าบัญชีเท่านั้น ขอเบิก ขาจ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บุคคลภายนอก ข้าราชการ

103 ขารับ ขาจ่าย โดยสรุป

104 จัดเก็บ นำส่ง ขอเบิก ขอจ่าย GFMIS ขารับ ขาจ่าย ลงทุนเพิ่ม
Non Cash , Non Cheque จัดเก็บ นำส่ง ขอเบิก ขอจ่าย 25% 48% 100% 100% 52% 75% Government e-payment System GFMIS ลงทุนเพิ่ม ใช้ที่มีอยู่แล้ว

105 การจัดการค่าธรรมเนียม
ไม่เสีย เสีย โดยใช้กติกาสากลการรับจ่ายเงินโดยใช้บริการของธนาคาร Transaction Bank account

106 การจัดการค่าธรรมเนียม
ต่ำสุด Transaction Bank account

107 การจัดการค่าธรรมเนียม
KTB Corporate Online Transaction Bank account

108 การจัดการค่าธรรมเนียม
ผู้โอนเงิน ผู้รับเงิน Transaction KTB Corporate Online รับภาระค่าธรรมเนียม ตามอัตราที่แต่ละธนาคาร เรียกเก็บตามปกติ รับภาระค่าธรรมเนียม(ถูกหักก่อนรับโอนงินเข้าบัญชี) 0 บาท รับโอน จ่ายโอน รับภาระค่าธรรมเนียม(ถูกหักก่อนรับโอนงินเข้าบัญชี) 10 บาท รับภาระค่าธรรมเนียม ตามอัตราที่แต่ละธนาคาร เรียกเก็บตามปกติ C2G B2G ค่าธรรมเนียม ไม่มี/ลดลง ค่าธรรมเนียม ไม่มี/ลดลง ผู้รับเงิน ผู้โอนเงิน G2C G2B

109 กรมบัญชีกลางรับภาระจ่ายค่าธรรมเนียม
ขอความร่วมมือคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID

110 การลดผลกระทบ ผู้รับบริการ ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง Cheque Bank account

111 การบริหารความเสี่ยง

112 เห็นชอบ เห็นชอบ โครงการ 4 e-payment ภาครัฐ คณะกรรมการขับเคลื่อน
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้านรับเงิน คณะกรรมการขับเคลื่อน ตามแผนยุทธศาสตร์ National e-payment เห็นชอบ ครั้งที่ มิถุนายน 2559 สิงหาคม 2559 คณะกรรมการขับเคลื่อน ตามแผนยุทธศาสตร์ National e-payment เห็นชอบ ครั้งที่ มีนาคม 2559 ด้านจ่ายเงิน 1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID 3 โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 2 โครงการการขยายการใช้บัตร 5 โครงการส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

113 โครงการ 4 e-payment ภาครัฐ
4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้านรับเงิน กย.59 กย.59 ธค..60 ด้านจ่ายเงิน กย.59 ตค.59 กย.59 ตค.59 ธค..59 1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID 3 โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 2 โครงการการขยายการใช้บัตร 5 โครงการส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

114 1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID
2 โครงการการขยายการใช้บัตร 3 โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 4 โครงการ e-payment ภาครัฐ 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ 5 โครงการส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

115 สำคัญมาา..ก การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

116 โครงการที่ 5 : การให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
แผนงานโครงการการให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) 1. มาตรการประชาสัมพันธ์ 1.1 มาตรการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับระบบ e-Payment ในภาพรวม (กรมประชาสัมพันธ์) 1.2 Train the trainer แก่บุคลากรในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น (กรมบัญชีกลาง/สภาหอฯ สภาอุตฯ/คบจ.) 1.3 e-Payment Ambassador (สมาคมธนาคารไทย) 1.4 จัดให้มี Website หลักของโครงการ National e-Payment (กค./สมาคมธนาคารไทย) 1.5 เผยแพร่คำตอบ FAQs ทางออนไลน์ (ธปท./กรรสรรพากร/กรมบัญชีกลาง/ก.พ.ร./ฝ่ายเลขาคณะอนุฯ) 1.6 จัดนิทรรศการให้ความรู้เรื่อง e-Payment ในระดับภูมิภาค 4 ภาค (สภาหอฯ/สภาอุตฯ) 1.7 กำหนดกลไกการติดตามการดำเนินงานในภาพรวมโดยมี กค. เป็นหน่วยงานหลักและประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. มาตรการจูงใจ 2.1 มาตรการจ่ายหรือโอนผ่าน e-Payment ได้ส่วนลดหรือคะแนนสะสม (สมาคมธนาคารไทย) 2.2 มาตรการชำระเงินผ่าน e-Payment ได้ลดค่าธรรมเนียม (สมาคมธนาคารไทย) 2.3 ชำระค่าน้ำไฟผ่านระบบ e-Payment ได้ส่วนลดค่าบริการ (การไฟฟ้าฯ/การประปาฯ/TOT/CAT) 2.4 บุรุษไปรษณีย์รับชำระเงินตามบ้าน (บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด) 2.5 ร่วมชิงโชคจากการชำระเงินด้วย e-Payment สำหรับทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย (กรมสรรพากร) 2.6 มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (กรมสรรพากร) ทั้งนี้ ระยะเวลาขึ้นอยู่กับความพร้อม ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน National e-Payment เช่น การให้นำค่าใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการผ่านระบบ e- Payment มาลดหย่อนภาษีได้ มาตรการที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นต้น ว่องไว มั่นใจ ใช่เลย การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ครั้งที่ 2/2559

117 บทเรียนจาก พร้อมเพย์ Prompt Pay จับชีพจร เช็คข้อเท็จจริง ตอบสนอง

118

119 ผู้ตรวจสอบภายใน

120 Internal Control Internal Audit Audit Program ผู้ตรวจสอบภายใน

121 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google