ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
สกลนครโมเดล.
รายงานผลการดำเนินงาน
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
โรงพยาบาลคลองหลวง จ.ปทุมธานี
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
COC.
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
Long Term Investment สาขาไต เขตสุขภาพที่ 2
Service plan สาขาไต เครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอนาทวีจังหวัดสงขลา
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
พ.ญ. เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
งาน Palliative care.
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
3 Eye Service Plan : Health Area.
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการประชุม กรมการแพทย์ พบ เขต 3 สาขาโรคไต และ สาขารับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ

ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2) เฉลี่ยประเทศ ปี 60=23.75% เฉลี่ยประเทศ ปี 59=62.26% ที่มา : HDC วันที่ 31 มีนาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT เป็นโรคไตเรื้อรังรายใหม่ (ในปีงบประมาณ) เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560 (Q2) เฉลี่ยประเทศ ปี 59=25.5% ปี 60 = 27.09% ที่มา : HDC วันที่ 31 มี.ค.2560

ร้อยละการชะลอความเสื่อมของไต ผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2) เฉลี่ยประเทศ ปี 59=64.29% ปี 60=62.71% ที่มา : HDC วันที่ 31 มีนาคม 2560

ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มารับบริการ จำแนกตาม Stage ปีงบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 3

ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มารับบริการ จำแนกตาม Stage ปีงบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 3

จำนวนผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้อง RRT รายใหม่ปี 2559 จังหวัด ประชากร UC ณ กย.58 Prevalance ต่อล้านประชากร จำนวนผู้ป่วย New case 1ปี Incidence ชัยนาท 307,132 นครสวรรค์ 649,522 อุทัยธานี 278,781 กำแพงเพชร 644,337 พิจิตร 464,485 รวมเขต 2,344,257 รวมประเทศ 48,259,953 803.61 13,317 275.94

จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในการบำบัดทดแทนไต ปี งบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 3 จังหวัด   อายุร แพทย์ โรคไต อบรม 4เดือน ศัลยแพทย์ ผ่าตัด เส้นเลือด แพทย์ผ่าตัด วางสาย TK อัตราส่วน ปชก.ต่อแพทย์โรคไต พยาบาล HD อัตราส่วน พยาบาลHDต่อผู้ป่วยHD CAPD พยาบาลCAPDต่อผู้ป่วยCAPD ชัยนาท (1) 1 - นครสวรรค์ 3(1) อุทัยธานี กำแพงเพชร 1(1) พิจิตร รวม

บุคลากรที่ปฏิบัติงาน ใน CKD Clinic ปีงบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 3 จังหวัด   เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพ ชัยนาท S = 1/1 , F1= F2= , F3= S = 1/1 , F1= F2= ,F3= นครสวรรค์ A = 1/1 M2= , F1= F2= 1/1 ,F3= อุทัยธานี กำแพงเพชร S = 1/1 M2= , F1= S = 1/1 M2= , F1= S = 1/1 M2= , F1= พิจิตร S =1/1 M2= , F1= รวม(ขาด)

จำนวนอวัยวะที่ได้รับบริจาคจากภาวะสมองตาย เดือน ต.ค.59 พ.ย.59 ธ.ค.59 ม.ค.60 ก.พ.60 มี.ค.60 รวม ไต (ข้าง) 2 4 6 14 ดวงตา(ข้าง) 8 24 หัวใจ   - 1 ปอด ตับอ่อน/ตับ  1 ผิวหนัง

จำนวนผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะและดวงตารายใหม่ ไตรมาสที่ 1/2560 จังหวัด นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี ชัยนาท พิจิตร รวม อวัยวะ 471 140 102 51 116 880 ดวงตา 399 346 63 43 228 1078

โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการการพัฒนาระบบบริการ Service Plan สาขาไต ระดับเขตสุขภาพที่ 3 กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจงนโยบายและเป้าหมายในการดำเนินการของ Service Plan สาขาไต ระดับเขตสุขภาพที่ 3 กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคไต ในระดับ โรงพยาบาลชุมชนและ รพ.สต. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคไตระดับโรงพยาบาลเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง กิจกรรมที่ 5 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้พยาบาล CAPD ระดับเขตสุขภาพที่ 3

วิเคราะห์การดำเนินงานคลินิกชะลอไตเสื่อม เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีคลินิกชะลอไตเสื่อมใน รพ.ระดับ ตั้งแต่ F2 ขึ้นไป 100% และ F3 >50% ในปี 2560 ปัจจุบันทุก รพ. เปิดบริการครบ 100% ใน F2 และ รพ. เปิดบริการ 80% ใน F3 มีองค์ประกอบการดำเนินงานไม่สมบูรณ์ มี สหวิชาชีพ 5 สาขาให้บริการในคลินิกครบทุกสาขา มีการให้บริการแบบสหวิชาชีพแต่ขาด นักกำหนดอาหาร นักกายภาพบำบัด ไม่มีตำแหน่งนักกำหนดอาหารใน รพช. (ซึ่งจำเป็นใน CKD และ NCD clinic และการทำงานในระดับชุมชน) เภสัชต้องการเรียนต่อด้าน CKD แต่ไม่มีหลักสูตร มีการตรวจ serum Cr ด้วย enzymatic method ครบ 100% ในปี 2560 ปัจจุบันทุก รพ. เปิดบริการครบ 100%

วิเคราะห์การดำเนินงานคลินิกชะลอไตเสื่อม เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีการคัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM, HT เป้าหมายปี 2560 >80% ปี 2559 : 83.41% ต่ำกว่าเป้า เกิดจากปัญหาการเทคนิคของการรายงานผ่านระบบ HDC ผู้ป่วย CKD สามารถชะลอความเสื่อมไตได้ตามเป้าหมาย (eGFR ลดลง <4 mL/min/1.73m2/yr) เป้าหมายปี 2560 >65% ปี 2559 : 63.89%

วิเคราะห์การดำเนินงาน hemodialysis เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค การเริ่ม dialysis แบบ emergency ในผู้ป่วย ESRD เป้าหมายปี 2560 <20% มีบริการ hemodialysis ใน รพ.ระดับ A,S,M1 ทุกโรง ครบ 100% มีปัญหาการควบคุมคุณภาพศูนย์ HD โดยเฉพาะศูนย์ outsource มีบริการสร้างและซ่อม vascular access เพียงพอ ไม่เพียงพอ ขาดศัลยแพทย์ที่สามารถทำ AVF/AVG ขาด interventionist ที่ทำ angioplasty

วิเคราะห์การดำเนินงาน peritoneal dialysis เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีบริการ peritoneal ใน รพ.ระดับ A,S,M1 ทุกโรง ครบ 100% สัดส่วนผู้ป่วย : PD nurse เกินมาตรฐาน 50 : 1 ยังมีบริการวางสาย PD catheter ไม่เพียงพอและระยะเวลารอคอยนานในนครสวรรค์ ใน รพ. M2 บางแห่งมีความพร้อมแต่ยังไม่เปิดบริการ PD มาตรฐานศูนย์ PD ไม่ชัดเจน

วิเคราะห์การดำเนินงาน palliative care เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีบริการ palliative care สำหรับผู้ป่วย ESRD ที่ปฏิเสธ RRT ในทุก รพ. ยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน

วิเคราะห์การดำเนินงาน รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มี Kidney transplant (KT) center เขตละ 1 แห่ง

วิเคราะห์การดำเนินงาน รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค รพ. A และ S ทั้งหมดเป็น donor center ภายในปี 2564 และ มี organ donor 1 :100 hospital death มี eye donor 5 : 100 hospital death

แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย ขาดนักกำหนดอาหาร และ นักกายภาพบำบัด ใน รพช. เภสัชต้องการเรียนต่อด้าน CKD ระบบขั้นตอนการประเมิน CKD clinic จากส่วนกลางยังไม่ชัดเจน

แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย ระบบรายงานผ่าน HDC ไม่สมบูรณ์ การจัดบริการ palliative care สำหรับผู้ป่วย ESRD ที่ปฏิเสธ RRT ยังไม่มีรูปแบบชัดเจน

แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย ขาดศัลยแพทย์ผ่าตัดหลอดเลือด AVF/AVG และวางสาย PD ขาดแพทย์ที่ซ่อม vascular access การเริ่ม dialysis แบบ emergency ในผู้ป่วย ESRD เป้าหมายปี 2560 สูงเกินเป้ามาก

แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย คุณภาพศูนย์ HD โดยเฉพาะศูนย์ outsource คุณภาพศูนย์ PD

แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย จำนวนการบริจาคอวัยวะในเขตยังน้อยมาก