โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต
Advertisements

การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Neonatal Network Area 2 Single standard of quality พญ. น้ำทิพย์ อินทับ กุมารแพทย์ทารกแรกเกิดและปริกำเนิด เลขาคณะทำงานทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 2.
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
Smart to Re-Acc :common pitfalls part I นพ. สมคิด เลิศสินอุดม 6 กรกฎาคม 2559.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
Service Plan สาขาสูติกรรม
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
ECT breast & Re-accredited plan
พญ.ศิริจิตต์ วาสนะวัฒน
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
สรุปโรคที่พบการให้รหัสผิดพลาดบ่อย
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
Risk Management System
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน)
ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Sex Chromosome
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
การบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วย ก่อนกลับเข้าทำงาน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
องค์กรแพทย์.
แพทย์หญิงหทัยทิพย์ หวังวรลักษณ์
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile) PCT กุมารเวชกรรม โรงพยาบาลแหลมฉบัง
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดชนิดและอัตรา หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณปริมาณสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
ตัวอย่าง incidence/risk ที่มาใส่ใน Risk profile
Service Profile หน่วยงาน : ห้องคลอด รพร.เดชอุดม
ตึกผู้ป่วยในพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม Presentation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ CLT กุมารเวชกรรม

สถิติบริการผู้ป่วยนอก 5 อันดับ กุมารเวชกรรม ปี 2559 Neonatal jaundice ปี 2560 Pneumonia ปี 2561 URI URI URI Acute bronchitis Neonatal jaundice Iron deficiency anemia Iron deficiency anemia Acute gastroenteritis Acute gastroenteritis Iron deficiency anemia Acute gastroenteritis Allergic dermatitis

สถิติบริการผู้ป่วยใน 5 อันดับ กุมารเวชกรรม ปี 2559 NB, low birth weight Acute gastroenteritis ปี 2560 Neonatal jaundice ปี 2561 Newborn Newborn Newborn Neonatal jaundice Neonatal jaundice Acute gastroenteritis NB, low birth weight Pneumonia Acute bronchitis Pneumonia

ความเสี่ยงสำคัญของ CLT กุมารเวชกรรม Hypoglycemia Birth Asphyxia Neonatal jaundice Febrile convulsion Hypothermia

การจัดการภาวะทารกแรกเกิดอุณหภูมิกายต่ำ การจัดการความเสี่ยง การจัดการภาวะทารกแรกเกิดอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)

การจัดการความเสี่ยง Hypothermia Transfer

ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : Hypothermia ถุงอุ่นใจคลายหนาว Goal

ผลลัพธ์การดำเนินการ เปรียบเทียบภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิดปกติระหว่างการใช้ผ้าห่อตัวทารกกับถุงอุ่นใจคลายหนาว พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2560 วิธีการใช้ ทารกแรกเกิด อุณหภูมิกายต่ำ/คน จำนวน/คน ร้อยละ -ผ้าห่อตัวทารก 59 554 10.7 -ถุงอุ่นใจคลายหนาว 8 553 1.5 ระดับความพึงพอใจ จำนวน (n=44) ร้อยละ - ระดับมาก 36 81.8 - ระดับมากที่สุด 8 18.2

ผลลัพธ์การดำเนินการ ผลการพัฒนา : Hypothermia ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2559 2560 2561 อัตราการเกิด Hypothermia < 2% 1.9 3.7 1.4

ผลลัพธ์การดำเนินการ แผนการพัฒนา : Hypothermia ใช้ CPG Hypothermia ในหอผู้ป่วยหลังคลอด 100 % นำส่งทารกจากหอผู้ป่วยหญิงหลังคลอดไปหน่วยงานอื่น ด้วยถุงอุ่นใจ ตรวจวัดอุณหภูมิก่อนส่งและรับทารกทุกครั้ง ทารกอุณหภูมิน้อยกว่า 36.5 องศาเซลเซียส อบอุ่นร่างกายเด็กด้วยเครื่อง Radiant Warmer ก่อนเคลื่อนย้ายทารก

การจัดการภาวะทารกแรกเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ การจัดการความเสี่ยง การจัดการภาวะทารกแรกเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)

ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ Dead Case Newborn : Hypothermia and Hypoglycemia มารดาได้รับ Pethidine ก่อนคลอดไม่เกิน 4 ชั่วโมง เพิ่มทารกกลุ่มที่มารดาได้รับ Pethidine ใน CPG Hypoglycemia Check list : Early warning signs ตรวจวัดอุณหภูมิกายก่อนส่งและรับทารกทุกครั้ง Transfer ทารกด้วยถุงอุ่นใจคลายหนาว แพทย์ตรวจร่างกายทารกก่อนกลับบ้านทุกเคส

ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ Dead Case : แนวทางการพัฒนา ทารกกลุ่มเสี่ยง Transfer Ward ตรวจวัด BT ก่อนส่งและรับผู้ป่วยทุกครั้ง Transfer ทารกด้วยถุงอุ่นใจคลายหนาว ติด Thermometer ทุกหน่วยงานที่ดูแลทารก Check list early warning sign CPG Hypoglycemia รายงานแพทย์

ผลลัพธ์การดำเนินการ ผลการพัฒนา : Hypoglycemia ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2559 2560 2561 อัตราการเกิด Hypoglycemia < 10% 0.45 0.39 0.87 ทารกที่มารดาได้รับ Pethidine ก่อนคลอดไม่เกิน 4 ชั่วโมง ไม่พบมีภาวะ Hypoglycemia

“ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย” Best Practice “ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย” Child development in preterm infants

การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm in Sick newborn ทารกมีชีวิตรอด ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ทารกได้รับนมแม่ต่อเนื่องตลอดการรักษา ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย Purpose Process Performance

ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาสมวัย การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm in Sick newborn Purpose Process Performance ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาสมวัย - ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - จัดสภาพแวดล้อมในตู้อบเด็กให้เสมือนนอนอยู่ในครรภ์มารดา(Nest) - การอุ้ม Kangaroo,การนวดสัมผัส - ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ROP, BPD - ไม่พบอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน BPD, ROP stage 1-2

การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm in Sick newborn

การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก Process Purpose Performance -ลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง -ประเมินพัฒนาการ, การเจริญเติบโตให้คำแนะนำ ก่อนกลับบ้าน -นัด เข้า รร.พ่อแม่ที่ 1 เดือน -นัดเข้าคลินิกกลุ่มเสี่ยง -ให้การดูแลพัฒนาการและ การเจริญเติบโตจนอายุ 2 ปี *ทารกมีพัฒนาการสมวัยเกินเป้าหมาย -2559 สมวัย 90.8% -2560 สมวัย 93.5% -2561 สมวัย 91.1% ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย > 85%

การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก Protective Factor Breast feeding ผู้เลี้ยงดูเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้ Protective Factor Screening Anemia Social media Risk Factor

การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2559   2560 2561 ( ตค.- มีค.) อัตราทารกคลอดก่อนกำหนดเสียชีวิตจาก RDS < 5% 0.4 1.6 อัตราเกิด Sepsis ในทารกคลอดก่อนกำหนด < 3% อัตราเกิด ROP > stage 3-5 < 3 % 0.8 1.0 อัตราทารกคลอดก่อนกำหนดวิกฤตได้รับ colostrum ภายใน 12 ชั่วโมง 50 % 66 47 60.6 อัตราทารกคลอดก่อนกำหนดได้รับนมแม่ขณะรักษา จนกระทั่งกลับบ้าน 95% 98.1 97 94.0 อัตราของทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย 85% 90.8 93.5 91.1 ได้รับการสอนใช้คู่มือ DSPM / DAIM ก่อนกลับบ้าน 100% NA 96

ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก กลุ่มเด็กที่ได้รับการตรวจพัฒนาการที่อายุ 18 เดือน ร้อยละของพัฒนาการสมวัย 2559 2560 2561 เด็กคลอดก่อนกำหนด 90.8 93.5 91.1 เด็กปกติ (คลอดครบกำหนด) 96.3 94.5 87.6

ตอบข้อซักถาม