งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ผลการดำเนินงานรอบ 11 เดือน (ตุลาคม–21 กันยายน 2560)

2 CA DPAC SERVIC PLAN โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บุหรี่ สุรา อุบัติเหตุ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด SERVIC PLAN โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง DM HT CKD STROKE MI/STEMI COPD ASTMA นิ่ว DPAC CA ทีมงาน คน (จนท. 6 คน/ พกส 3 คน/ ลูกจ้าง 1คน) OSCC อุบัติเหตุ RTI EMS จมน้ำ ยาเสพติด บุหรี่ สุรา ผู้พิการ TO BE NUMBER ONE สุขภาพจิต

3 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด นางสาวสุธัชสรา ปิ่นลออ
1. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ DM HT CKD STROKE MI/STEMI COPD ASTMA นิ่ว หัวใจพิการแต่กำเนิด นางมะลิ สุปัตติ 2. มะเร็ง ได้แก่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี มะเร็งลำไส้ มะเร็งปอด มะเร็งอื่น ๆ นางฐิติมา เสนาะ นางสาวสุธัชสรา ปิ่นลออ 3. DAPC องค์กรไร้พุง นายกิตติพงษ์ ระหาร ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 4. ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 5. การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน นางนงคราญไชยวัฒน์ นางสาววะนิดา เปรมทา 6. การป้องกันการจมน้ำ

4 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
7. งานสุขภาพจิต งานสุขภาพจิตในเด็ก -งานสุขภาพจิตในผู้ใหญ่ นางจันทราทร พละศักดิ์ 8. งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ นางบุญช่วย ชมบุตรศรี 9. งานป้องกันควบคุมบุหรี่ สุรา 10. งาน OSCC 11. งานป้องกัน บำบัด รักษา ฟื้นฟู ยาเสพติด ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 นางจุฑารัศม์ กิ่งมณี 12. TO BE NUMBER ONE นางวนิดา สมภูงา และทีม 13. งาน SERVIC PLAN

5 งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นางมะลิ สุปัตติ
งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นางมะลิ สุปัตติ 1.พัฒนาคลินิก NCDคุณภาพ 2. DM 12. SERVIC PLAN 3. HT 11. ไต 4. CKD CLINIC 10. COPD 5. STROKE 9. ASTMA 6. โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด 8. MI/STEMI 7. โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ

6 อัตราความชุก DM ,HT ,CA Liver จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2552 - 2558
/แสน ปชก

7 อัตราตาย Stroke, Ca Liver, Accident จังหวัดศรีสะเกษปี 2552 - 2557
ร้อยละ

8 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ไม่ผ่าน 1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง เบาหวาน < ร้อยละ 2.4 2.4 1.38 ผ่าน 2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูงที่ขึ้น ทะเบียนได้รับการประเมิน โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ หลอดเลือด (CVD Risk) ร้อยละ 80 80 84.91 3. อัตราตายด้วยโรค หลอดเลือดสมอง < ร้อยละ 7 7 5.30

9 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 4. อัตราตายของผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองตีบ < ร้อยละ 7 7 2.77 ผ่าน 5. อัตราตายของผู้ป่วย โรคหลอดเลือด สมองแตก < ร้อยละ 7 16.76 ไม่ผ่าน 6. อัตราตายของผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง ไม่ระบุชัดแจ้ง < ร้อยละ 7 0.53

10 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ไม่ผ่าน 7. อัตราตายด้วยโรคหลอด เลือดหัวใจ < ร้อยละ 27.4 27.4 19.45 ผ่าน 8. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มี อัตราการลดลงของ eGFR < 4ml /1.73m2 /yr ร้อยละ 65 65 62.62 9. การตรวจด้วย Serum Cr ด้วย enzymztic method ของ รพ. ระดับ F2 100

11 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 10. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้ดี 40 30.47 ไม่ผ่าน 11. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดัน โลหิตสูงที่ควบคุมระดับ ความดันได้ดี 50 12. จำนวนปลูกถ่ายไตสำเร็จ 100 รพ.สปส.

12 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 13. ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรอง เบาหวาน โดยการตรวจระดับ น้ำตาลในเลือด > / = ร้อยละ 90 90 83.32 ไม่ผ่าน 14. ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรอง และวินิจฉัยเป็นเบาหวาน > / = ร้อยละ 10 10 1.83

13 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 15. ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรอง ความดันโลหิตสูง > / = ร้อยละ 90 90 83.59 ไม่ผ่าน 16. ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรอง และวินิจฉัยเป็นความดัน โลหิตสูง > / = ร้อยละ 10 10 8.56

14 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด (หัวใจ) เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 17.ผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยา ละลายลิ่มเลือดและหรือ PPCI (> ร้อยละ 80) 80 100 ผ่าน 18.ผู้ป่วย STEMI ที่เสียชีวิต ภายในโรงพยาบาลได้รับ การรักษา (< ร้อยละ 10) 10 12.96 ไม่ผ่าน

15 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 19.ระยะเวลาการรอคอยคิว HD < 15 วัน 15 30 ไม่ผ่าน 20. ระยะเวลาการรอคอยคิว CAPD < 15 วัน 0 (ไม่ต้องรอคิว) ผ่าน 21.อัตราการเกิดการกำเริบ เฉียบพลันในผู้ป่วยโรค ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ≤ 130 ครั้ง ต่อแสนประชากร ≤130 664.15

16 การคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะเบาหวาน ในประชากรอายุ ปี โดยการตรวจระดับน้ำตาล ในเลือด จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย > 90%)

17 การคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะเบาหวาน ในประชากรอายุ ปี โดยการตรวจระดับน้ำตาล ในเลือด จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย > 60%)

18 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560
การคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย > 60%) ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560

19 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560
การคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย > 60%) ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560

20 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ขึ้น ทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ หลอดเลือด (CVD Risk) ร้อยละ 80 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560

21 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ขึ้น ทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ หลอดเลือด (CVD Risk) ร้อยละ 80 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 16 กันยายน 2560

22 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย > 40 %)

23 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย > 40 %)

24 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 เป้าหมาย > 50 %

25 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 เป้าหมาย > 50 %

26 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย < ร้อยละ 7)

27 อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย < ร้อยละ27.4)

28 โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ปัญหา โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 1. ความครอบคลุมการคัดกรองประชาชนเพื่อค้นหา ภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูงยังไม่ได้ตามเกณฑ์ 2. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ 3. การควบคุมระดับความดันโลหิต ยังไม่ได้ตามเกณฑ์

29 แนวทาง ปี 2561 4.พัฒนาระบบข้อมูล 3.พัฒนาเครือข่าย NCD Clinic PLUS
1.กำหนดกรอบระยะเวลาในการดำเนินงานให้ชัดเจน/ ปฏิบัติตามกำหนด คัดกรองให้แล้วเสร็จไตรมาสที่ 2 2.ทบทวนแนวทางการดำเนินงานทั้งเบาหวาน/ความดัน โลหิตสูง และ STROKE (CPG) 3.พัฒนาเครือข่าย NCD Clinic PLUS 4.พัฒนาระบบข้อมูล 5.รพ./รพ.สต.ประเมินตนเอง NCD คุณภาพทุกแห่ง 6. ดำเนินการ DPAC ในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย/ผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง

30 แนวทาง 10. การสื่อสารความเสี่ยง แนวทาง ปี 2561
9. พัฒนา SERVIC PLAN STROKE -FAST TRACT STROKE UNIT -CPG 10. การสื่อสารความเสี่ยง 11. นิเทศงานเฉพาะกิจ

31 พื้นที่ดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
พื้นที่ดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 1. เมืองศรีสะเกษ 2. โนนคูณ 3. เบญจลักษ์ 4. พยุห์ 5. ปรางค์กู่ 6. ราษีไศล 7. อุทุมพรพิสัย 8. น้ำเกลี้ยง 9. เมืองจันทร์ 10. ศิลาลาด ***กันทรลักษ์**

32 งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน นางมะลิ สุปัตติ /นายกิตติพงษ์ ระหาร
งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน นางมะลิ สุปัตติ /นายกิตติพงษ์ ระหาร 1.พัฒนาคลินิก DPAC คุณภาพ 2. พัฒนาองค์กรไร้พุง 3. ประเมินสวนสาธารณะ 3. เชื่อมโยงการพัฒนา พฤติกรรมเพื่อ ป้องกันการเกิดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง *กลุ่มปกติ *กลุ่มเสี่ยง *กลุ่มป่วย 4. ประเมิน FITNESS 5. ติดตามประเมินภาวะสุขภาพ

33 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการวัดรอบเอว มากกว่าร้อยละ 90 90 60.39 ไม่ผ่าน 2. ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวเกินเกณฑ์กำหนด (ชายเกิน 90 ซม. หญิงเกิน ซม.) ไม่เกินร้อยละ 40 40 32.88 ผ่าน 3. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง มีการดำเนินงานคลินิก DPAC ร้อยละ 100 100

34 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 4. ประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนี มวลกายปกติ ไม่เกินร้อยละ 54 54 44.99 ผ่าน 5. โรงพยาบาลได้รับการประเมิน องค์กรไร้พุง จำนวน 2 แห่ง/ปี ร้อยละ 100 2 แห่ง 100 6. จังหวัดมีการประเมิน สวนสาธารณะจัดบริการ ออกกำลังกาย 1 แห่ง

35 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 18 กันยายน 2560
ผลการวัดรอบเอวในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย > 90 %) ที่มา : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 18 กันยายน 2560

36 ผลการวัดรอบเอวในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย > 90 %)

37 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 18 กันยายน 2560
ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย > 54%) ที่มา : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 18 กันยายน 2560

38 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย > 54%)

39 พื้นที่รับประเมิน DPAC และ องค์กรไร้พุง ปี 2561
6. กันทรารมย์ 7. ศรีรัตนะ 8. ราษีไศล 9. โนนคูณ 10. ห้วยทับทัน 1. เมืองศรีสะเกษ 2. กันทรลักษ์ 3. อุทุมพรพิสัย 4. ไพรบึง 5. ยางชุมน้อย

40 งานป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง นางวนิดา สมภูงา นางสาวฐิติมา เสนาะ ,นางสาวสุธัชสรา ปิ่นละออ
1.มะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี 2. มะเร็งปากมดลูก 3. มะเร็งเต้านม 4. มะเร็งลำไส้ 5. มะเร็งปอด 5. มะเร็งอื่น ๆ 6. SERVIC PLAN

41 ร้อยละโรคมะเร็งที่พบบ่อยในเพศชาย จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2558
ร้อยละโรคมะเร็งที่พบบ่อยในเพศหญิง จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2558 ที่มา : ข้อมูลทะเบียนมะเร็ง โรงพยาบาลศรีสะเกษ

42 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ไม่ผ่าน 1. ร้อยละของประชากร กลุ่มเสี่ยงได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็ง ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 80 80 60.06 ไม่ผ่าน 2.ร้อยละของผู้ที่มี ผลตรวจคัดกรอง มะเร็งท่อน้ำดี ผิดปกติได้รับการ รักษาต่อ 100 ผ่าน

43 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ไม่ผ่าน 3. ร้อยละของประชาชน สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรอง มะเร็งเต้านม 90 78.12 ไม่ผ่าน 4. ร้อยละสะสมความ ครอบคลุมการ คัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกใน ประชาชนสตรี อายุ ปี ( ) 60 56.76

44 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ร้อยละ ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 5.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการ รักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 80 93.54 ผ่าน 6.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง อันดับแรก ได้รับการ รักษาด้วยเคมีบำบัด ภายในระยะเวลา 6สัปดาห์ 92.31

45 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ร้อยละ ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 7.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง อันดับแรก ที่ได้รับการ รักษาด้วยรังสีรักษา ภายใน 6 สัปดาห์ 80 76.66 ไม่ผ่าน 8. อัตราการเสียชีวิต ด้วยโรคมะเร็งตับ/ มะเร็งท่อน้ำดี ไม่เกิน ต่อแสนประชากร 23.5 42.95

46 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ร้อยละ ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 9. อัตราการเสียชีวิต ด้วยโรคมะเร็งปอด ไม่เกิน ต่อแสนประชากร 18 4.75 ผ่าน

47 ผลการคัดกรองมะเร็งเต้านมในหญิง อายุ 30-70 ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย> 90 %)

48 ผลการคัดกรองมะเร็งเต้านมในหญิง อายุ 30-70 ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย> 90 %)

49 ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิง อายุ ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 เป้าหมายผลงานสะสม 3 ปี > 60 %

50 ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิง อายุ ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 เป้าหมายผลงานสะสม 3 ปี > 60 %

51 ร้อยละการอัลตร้าซาวด์กลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 เป้าหมาย > 80 %

52 ร้อยละการอัลตร้าซาวด์กลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 เป้าหมาย > 80 %

53 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย <23.5/แสนประชากร)

54 ปัญหา โรคมะเร็ง 1.ผลการดำเนินงานยังไม่ได้ตามเป้าหมาย ) ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมยังต่ำ ร้อยละ (เกณฑ์ร้อยละ 90) ) ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ร้อยละ (เกณฑ์ร้อยละ 60) ) ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ (เกณฑ์ร้อยละ 80) 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังไม่เข้าถึง ระบบระบบบริการการคัดกรอง 3. การจัดเก็บข้อมูลยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน

55 แนวทาง ปี 2561 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากร
2.พัฒนาระบบข้อมูล/จัดทำ แนวทางการจัดเก็บข้อมูล 3.จัดทำ CPG การคัดกรอง/ การดูแลรักษา/ส่งต่อ 4.จัดทำระบบ Fast Tract 5. สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชน แนวทาง ปี 2561 6.รณรงค์ตรวจคัดกรองให้แล้วเสร็จ ไตรมาสที่ 2 7.นิเทศติดตาม

56 เร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี
พื้นที่เร่งรัด ปี 2561 เร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ทุกอำเภอ

57 งานป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ นางนงคราญ ไชยวัฒน์/นางสาววะนิดา เปรมทา
งานป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ นางนงคราญ ไชยวัฒน์/นางสาววะนิดา เปรมทา 1. ACCIDENT 2. RTI 3. EMS 4. การป้องกันเด็กเสียชีวิต จากการจมน้ำ 6. SERVIC PLAN

58 ที่มา : รายงาน 19 สาเหตุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ และ Thairsc
ที่มา : รายงาน 19 สาเหตุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ และ Thairsc.com

59 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. อัตราการเสียชีวิต ด้วยอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 18 / แสนประชากร 18 10.89 ผ่าน 2. ร้อยละของ โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ESC คุณภาพ ร้อยละ 60 60 100 ผ่าน

60 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 3. อัตราการเสียชีวิต ของผู้ป่วยในจากการ บาดเจ็บ (19 สาเหตุ) ในโรงพยาบาล ระดับ A ,S ,M1 ที่มีโอกาสรอดชีวิต Probability of Survival (Ps ≥ 0.75) 0.75 0.30 ผ่าน

61 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 4.ร้อยละของจังหวัดที่มีการ บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน 1 ผ่าน 5.ร้อยละของจังหวัดมีการกำหนด จุดเสี่ยง 5 จุด/ไตรมาส (20 จุด/ปี) 20 6.ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปจัดตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 22

62 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 7.ร้อยละของ ER คุณภาพ ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ร้อยละ 25 25 100 ผ่าน 8. ร้อยละของ EMS ,ECSคุณภาพ ในโรงพยาบาลทุกระดับ ทุกแห่ง

63 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 9. อัตราการเสียชีวิต จากการจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 5/ แสนประชากร 5 6.42

64 อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดศรีสะเกษ (เป้าหมาย 18/แสนประชากร)

65 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดศรีสะเกษ (เป้าหมาย < 5/แสนประชากร)

66 การประเมิน ER คุณภาพของโรงพยาบาล ประจำปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
ที่ โรงพยาบาล ส่วนที่ 1 ด้านทรัพยากรและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา (ร้อยละ) ส่วนที่ 2 ด้านการบริหารจัดการของผู้ปฏิบัติงาน (ร้อยละ) ส่วนที่ 3 ด้านความพึงพอใจของผู้ให้บริการ (ร้อยละ ส่วนที่ 4 ด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ร้อยละ) 1 ศรีสะเกษ 92.3 82.0 70.6 81.30 2 ยางชุมน้อย 90.5 87.4 85.9 80.67 3 กันทรารมย์ 92.0 88.8 93.8 94.17 4 กันทรลักษ์ 95.4 90.3 77.5 91.25 5 ขุขันธ์ 95.7 94.7 93.7 89.97 6 ไพรบึง 98.8 96.3 76.8 85.83 7 ปรางค์กู่ 91.8 92.8 73.5 81.53 8 ขุนหาญ 90.00 9 ราษีไศล 74.2 67.0 83.60 10 อุทุมพรพิสัย 83.6 80.6 75.5 87.64 11 บึงบูรพ์ 84.7 87.5 77.7 89.20 12 ห้วยทับทัน 91.4 88.7 80.2 84.30

67 การประเมิน ER คุณภาพของโรงพยาบาล ประจำปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
ที่ โรงพยาบาล ส่วนที่ 1 ด้านทรัพยากรและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา (ร้อยละ) ส่วนที่ 2 ด้านการบริหารจัดการของผู้ปฏิบัติงาน (ร้อยละ) ส่วนที่ 3 ด้านความพึงพอใจของผู้ให้บริการ (ร้อยละ ส่วนที่ 4 ด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ร้อยละ) 13 โนนคูณ 96.9 91.5 84.8 80.00 14 ศรีรัตนะ 95.2 94.7 73.9 81.52 15 น้ำเกลี้ยง 80.6 85.2 71.2 75.3 16 วังหิน 75.6 76.2 89.0 80.80 17 ภูสิงห์ 91.3 99.0 83.8 85.00 18 เมืองจันทร์ 92.6 89.5 76.8 84.40 19 เบญจลักษ์ 79.4 82.7 88.90 20 พยุห์ 79.7 78.1 73.6 76.80 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 65.0 76.4 71.4 87.64 22 ศิลาลาด 64.7 58.1 70.6 75.80

68 แนวทาง ปี 2561 อุบัติเหตุ ปัญหา
1. พฤติกรรมของบุคคล การบังคับใช้กฎหมายยังไม่เข้มข้น 3. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย แนวทาง ปี 2561 1. สื่อสารความเสี่ยง ให้แก่ประชาชนรับทราบ 2. เฝ้าระวัง/เตรียมความพร้อมในช่วงเทศกาลปีใหม่/สงกรานต์ 3. ประสานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานทั้งด้านอุบัติเหตุ ทางถนนและการป้องกันการจมน้ำ 4. นิเทศติดตาม/ตรวจจุดเสี่ยง

69 พื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 งานป้องกันการจมน้ำ 1. ยางชุมน้อย 2. อุทุมพรพิสัย 3. ห้วยทับทัน 4. วังหิน 5. ปรางค์กู่ 6. ขุขันธ์ 7. ภูสิงห์ 8. กันทรลักษ์ พื้นที่เร่งรัดงานป้องกันอุบัติเหตุ 1. บึงบูรพ์ 2. วังหิน

70 งานป้องกันควบคุมสุขภาพจิต นางจันทราทร พละศักดิ์
งานป้องกันควบคุมสุขภาพจิต นางจันทราทร พละศักดิ์ 1.ส่งเสริมสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย 2. เฝ้าระวังภาวะซึมเศร้าเสี่ยงต่อภาวะฆ่าตัวตาย 3. คัดกรองพัฒนาการล่าช้า 4. คัดกรองภาวะออทิสติก 5. คัดกรองภาวะปัญญาอ่อน 6. การเข้าถึงบริการผู้ป่วยจิตเวชเด็ก 6. SERVIC PLAN

71 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2551-2559
อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ อัตราผู้ป่วยโรคจิดเข้าถึงบริการ จังหวัดศรีสะเกษ ปี อัตราผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ จังหวัดศรีสะเกษ ปี ที่มา : ข้อมูลจาก 43 แฟ้ม ณ วันที่ 5 กันยายน 2559

72 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. เด็กไทยมีสติปัญญา ไม่ต่ำกว่าร้อยละ (ปี 2564 ประเมินทุก 5 ปี) 100 92.40 ไม่ผ่าน 2. ร้อยละของเด็กไทย มีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติ 70 78.00 ผ่าน 3. จังหวัดมีเครือข่ายบริการ กระตุ้นพัฒนาการเด็ก ล่าช้า ร้อยละ 50 50

73 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 4. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้น พัฒนาการ ร้อยละ 60 60 70.17 ผ่าน 5. ร้อยละของผู้มีปัญหา สมาธิสั้นเข้าถึงบริการ มากกว่าร้อยละ 8 8 4.53 ไม่ผ่าน 6. ร้อยละของเด็กออทิสติก เข้าถึงระบบบริการ มากกว่าร้อยละ 20 20 41.90

74 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 7. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ </= 6.3 ต่อแสน ประชากร 6.3 4.85 ผ่าน 8. ร้อยละของผู้พยายาม ฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำร้าย ตนเองซ้ำภายใน 1 ปี ≥80 98.13

75 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 9. ร้อยละของหน่วยบริการ ที่มีการคัดกรองและ เฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการ ฆ่าตัวตายในประชากร กลุ่มเสี่ยง 3 โรค ร้อยละ 50 50 100 ผ่าน 10. ร้อยละของผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าเข้าถึงบริการ สุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน ≥ 50 53.90 11. ร้อยละของผู้ป่วยโรค จิตเภทเข้าถึงบริการ สุขภาพจิต 65 96.45

76 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ที่ได้มาตรฐาน (≥ ร้อยละ 50)

77 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ที่ได้มาตรฐาน (≥ ร้อยละ 50)

78 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน (≥ ร้อยละ 50)
ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน (≥ ร้อยละ 50)

79 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ที่ได้มาตรฐาน (≥ ร้อยละ 50)

80 อัตราเด็กสมาธิสั้นเข้าถึงระบบบริการ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย ร้อยละ 8)

81 อัตราเด็กออทิสติกเข้าถึงระบบบริการ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย ร้อยละ 20)

82 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย <6
อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ จังหวัดศรีสะเกษ ปี (เป้าหมาย <6.3/แสนประชากร)

83 ปัญหา สุขภาพจิต 1.การคัดกรองเพื่อค้นหาเด็กที่ป่วยด้วยโรคจิตเวชเด็ก ต้องอาศัยผู้ปกครอง/คุณครู ซึ่งทำได้ค่อนข้างยาก 2.ขาดบุคลากรสาธารณสุขที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านจิตเวชเด็ก 3.การบันทึกข้อมูลยังไม่ถูกต้อง/ครอบคลุม 4.อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เนื่องจากการวินิจฉัยผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ยังไม่ครบถ้วน

84 แนวทาง ปี 2561 6.พัฒนาระบบข้อมูล 7.นิเทศเฉพาะกิจ
1.สนับสนุน/ค้นหาตั้งแต่เด็กนักเรียน ป.1 2.ทีมสาธารณสุขประสานการดำเนินงาน ร่วมกับเครือข่ายผู้ปกครอง/คุณครู 3. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน ระหว่างเครือข่าย 4. การเฝ้าระวังและการเข้าถึงระบบบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 5. เน้นการเข้าถึงระบบบริการ ในกลุ่มเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า แนวทาง ปี 2561 6.พัฒนาระบบข้อมูล 7.นิเทศเฉพาะกิจ

85 พื้นที่ดำเนินการสุขภาพจิต ปี 2561
1. การเข้าถึงบริการของเด็กสมาธิสั้น ,เด็กออทิสติก ***ทุกอำเภอ 2. เร่งรัดเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า***กันทรลักษ์ ขุขันธ์ ขุนหาญ ราษีไศล อุทุมพรพิสัย ห้วยทับทัน ภูสิงห์ พยุห์ 3. เร่งรัดเฝ้าระวังโรคจิตเภท*** ปรางค์กู่ ศิลาลาด 4. เร่งรัดเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย***ราษีไศล ยางชุมน้อย เมืองจันทร์ ห้วยทับทัน ปรางค์กู่ วังหิน ขุขันธ์ ไพรบึง ศรีรัตนะ ขุนหาญ บึงบูรพ์

86 งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ นางบุญช่วย ชมบุตรศรี
งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ นางบุญช่วย ชมบุตรศรี 1. พัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทางการแพทย์ 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการในชุมชน 3. สนับสนุนการจัดหากายอุปกรณ์/อุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ แก่ผู้พิการ 4. สนับสนุนการจัดบริการรักษาพยาบาลโรคเฉพาะทาง เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ และความพิการอื่น ๆ 5. พัฒนาระบบข้อมูล 6. บูรณาการกับงานตำบลส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้พิการ และด้อยโอกาส

87 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. ผู้พิการเข้าถึงบริการ ด้านสุขภาพไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 80 100 ผ่าน 2. ผู้พิการได้รับการดูแล สมรรถภาพด้านการแพทย์ /กายอุปกรณ์/อุปกรณ์/ เครื่องช่วยตามเกณฑ์ 70

88 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 3. ผู้พิการขาขาดได้รับการ ดูแลสมรรถภาพ ด้านการแพทย์/ กายอุปกรณ์/อุปกรณ์/ เครื่องช่วยตามเกณฑ์ 100 ผ่าน 4. มีข้อมูลผู้พิการทุกประเภท ที่เป็นปัจจุบัน

89 ปัญหาผู้พิการ 1. ผู้พิการเด็กยังไม่เข้าถึงระบบบริการ เช่น เด็กออติสติก

90 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561
1.สำรวจฐานข้อมูลผู้พิการ ให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 2.ผู้พิการและผู้เสี่ยงต่อความพิการ ต้องได้รับบริการค้นหาและส่งต่อ เข้าสู่ระบบบริการด้านสุขภาพ (อุปกรณ์ ,เครื่องช่วย) 3.พัฒนารพบบบริการดูแลระยะกลาง (Intermediate Care) ในกลุ่มดังนี้ ) ผู้ป่วยอุบัติเหตุ Head Injury ) ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง ) ผู้ป่วย STROKE

91 งานพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC) นางบุญช่วย ชมบุตรศรี
1. การพัฒนาโปรแกรมระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทางการแพทย์ 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการในชุมชน 3. สนับสนุนการจัดหากายอุปกรณ์/อุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ แก่ผู้พิการ 4. สนับสนุนการจัดบริการรักษาพยาบาลโรคเฉพาะทาง เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ และความพิการอื่น ๆ 5. พัฒนาระบบข้อมูล 6. บูรณาการกับงานตำบลส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้พิการ และด้อยโอกาส

92 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. โรงพยาบาลมีระบบงาน ศูนย์พึ่งได้ชัดเจน ร้อยละ 80 80 95.45 ผ่าน 2. ให้การดูแลช่วยเหลือ ประสานงานส่งต่อ CASE สำเร็จ ไม่มีปัญหา ร้อยละ 90 90 100

93 ปัญหาในการดำเนินงาน OSCC
1. ประชาชนในพื้นที่ยังไม่ตระหนัก ถึงปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ 2. การเฝ้าระวังความรุนแรง ในบุคคลคนครอบครัวทำได้ยาก

94 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561
1.ประสานการดำเนินงานในระดับ รพ.สต ส่งเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ประชาชนได้รับรู้ และมีการ เฝ้าระวังในหมู่บ้านชุมชน 3.ประสาน อปท.และภาคีเครือข่าย เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ถูกกระทำ

95 งานป้องกันควบคุมบุหรี่สุรา นางบุญช่วย ชมบุตรศรี
งานป้องกันควบคุมบุหรี่สุรา นางบุญช่วย ชมบุตรศรี 1. การจัดบริการเชิงรุกเข้าสถานศึกษา 2. การจัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน 3. การจัดบริการเชิงรุกสู่สถานประกอบการ 4. การจัดบริการที่เป็นมิตรสอดคล้อง กับความต้องการและบริบทของวัยรุ่น 5. การบูรณาการเชื่อมโยงกับ DHS 6. การพัฒนาคลินิกบุหรี่สุรา การบำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ป่วยสุราบุหรี่ การพัฒนา HA บุหรี่สุรา การติดตามผู้ป่วยบุหรี่สุรา

96 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 17.8 17.8 14.49 ผ่าน 2. อัตราการสูบบุหรี่ ในกลุ่มวัยรุ่น (15-18 ปี) ไม่เกิน ร้อยละ 9 21.61 ไม่ผ่าน 3. โรงพยาบาลมีการ ให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ รพ. (ร้อยละ 80) -รพ.สต. (ร้อยละ 30) 80 30 ผ่าน ผ่าน

97 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 4. ผู้ติดบุหรี่เข้าถึงระบบ บริการการบำบัด ร้อยละ 80 80 34.26 ไม่ผ่าน 5. ผู้ติดสุราเข้าถึงระบบ บริการการบำบัด ร้อยละ 80 67.05

98 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 6. ร้อยละของโรงเรียน ที่ร่วมดำเนินงานโรงเรียน ปลอดบุหรี่ (มัธยม ร้อยละ 80) 80 100 ผ่าน 7. ความชุกของผู้ดื่ม แอลกอฮอล์ในประชากร วัยรุ่น จากผลการเฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง (BSS) ร้อยละ 42.4 42.4 51.8 ไม่ผ่าน

99 ปัญหาการดำเนินงานบุหรี่สุรา
1. ผู้ติดบุหรี่และผู้ติดสุราเข้าถึง ระบบการบำบัดต่ำ 2. ยังพบนักสูบนักดื่มหน้าใหม่

100 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561
1. เร่งรัดการดำเนินงานเพื่อให้ ผู้ติดบุหรี่และผู้ดื่มสุราเข้าถึง ระบบบริการการบำบัดรักษา 2.ประสานการดำเนินงานกับ สถานศึกษา

101 งานป้องกันควบคุมยาเสพติด นางจุฑารัตน์ กิ่งมณี
งานป้องกันควบคุมยาเสพติด นางจุฑารัตน์ กิ่งมณี 1. พัฒนา HA ยาเสพติด 2. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 3. พัฒนาระบบบำบัดยาเสพติด 4. พัฒนาระบบข้อมูลยาเสพติด 5. การดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย 6. SERVIC PLAN

102 จำนวนผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2556-2560 (ต. ค
จำนวนผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ (ต.ค ก.ย.60) ที่มา: รายงาน ตามแบบบำบัดรักษา (บสต.) จากแผนภูมิ พบว่า จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด ทุกระบบ ลดลง ลักษณะการเข้ารับการบำบัด โดย ปี แบบสมัครใจ มากกว่า แบบบังคับบำบัด ปี แบบสมัครใจ น้อยกว่า แบบบังคับบำบัด

103 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1. ร้อยละของผู้เสพยาเสพติด ที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการ ติดตามไม่กลับไปเสพซ้ำ 92 96.05 ผ่าน 2.ผู้เสพยาเสพติดผ่านการฝึกอบรม ตามโครงการบำบัดฟื้นฟู สมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด (ค่ายวิวัฒน์พลเมือง) จำนวน คน 100

104 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 3. อัตราคงอยู่ (Retention rate) 3.1 อัตราคงอยู่ในการ บำบัดรักษา ร้อยละ 70 70 87.42 ผ่าน 3.2 อัตราการคงอยู่ในระยะ ติดตามการรักษา ร้อยละ 60 60 76.30 4.อัตราการคัดกรองค้นหาผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัด ตามระบบสมัครใจแบบผู้ป่วยนอก ร้อยละ 80 80 79.5 (1,200/945) ไม่ผ่าน

105 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 5.พัฒนาโรงพยาบาลทุกแห่ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน การบำบัดยาเสพติด (HA) ร้อยละ 70 22 86.36 (19) ผ่าน

106 ผลการบำบัดผู้ติด/ผู้เสพยาเสพติด จำแนกแยกรายอำเภอ จังหวัดศรีสะเกษ (1 ตุลาคม 2559–21 กันยายน บสต.)

107 ผลการบำบัดผู้ติด/ผู้เสพยาเสพติด จำแนกแยกรายอำเภอ จังหวัดศรีสะเกษ (1 ตุลาคม 2559–21 กันยายน 2560)

108 ปัญหายาเสพติด 1. รพ.ยังไม่ผ่านการประเมินรับรอง HA ยาเสพติด ได้แก่ รพ.ศรีสะเกษ เบญจลักษ์ พยุห์ และศิลาลาด ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัด ตามระบบสมัครใจแบบผู้ป่วยนอก ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย (เป้าหมาย 1,397 ราย ผลงาน ราย ร้อยละ 78.38)

109 แนวทาง ปี 2561 5.นิเทศติดตามเฉพาะกิจ 2. “เพื่อนช่วยเพื่อน”
1. เร่งรัดให้ รพ.ทุกแห่งดำเนินการ ประเมิน HA ยาเสพติด 2. “เพื่อนช่วยเพื่อน” 3. จัดทำแนวทางการ ดำเนินงาน 4. พัฒนาระบบข้อมูล ติดตาม การกรอกข้อมูลทุกเดือน แนวทาง ปี 2561 5.นิเทศติดตามเฉพาะกิจ

110 งาน TO BE NUMBER ONE 1. การดำเนินงานภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์หลัก
2. การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 3. การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 4. การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER) 5. การจัดค่ายเสริมสร้างภูมคุ้มกันทางจิตใจ ค่ายพัฒนาแกนนำ ค่ายพัฒนาสมาชิก TO BE NUMBER ONE สู่ความเป็นหนึ่ง 6. การสมัครนิตยสาร TO BE NUMBER ONE 7. การประสานภาคีเครือข่าย

111 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 1.การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนมัธยม ร้อยละ 80 80 100 ผ่าน 2.การจัดตั้งศูนย์เพื่อนในใจ TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนมัธยม ร้อยละ 80

112 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 3.สถานประกอบการที่ลูกจ้าง ตั้งแต่ ๕๐ คน ขึ้นไป และผ่าน เกณฑ์ มยส. เข้าร่วมโครงการ TO BE NUMBER ONE เพิ่มขึ้นปีละ ๑ แห่ง 80 100 ผ่าน 4.ขยายเครือข่ายการ ดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE สู่เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เรือนจำ สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน สำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดศรีสะเกษ

113 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 5.การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในหมู่บ้าน/ชุมชน ร้อยละ 80 80 20 ไม่ผ่าน 6.การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในในหมู่บ้าน/ชุมชน ร้อยละ 80

114 ปัญหาในการดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE
1.การดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ (สถานศึกษา ,หมู่บ้าน ชมชน ,สถานประกอบการ) 2. การดำเนินงานศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ (สถานศึกษา ,หมู่บ้าน ชมชน ,สถานประกอบการ) 3. ประชาชนในพื้นที่ยังไม่เข้าใจเรื่อง TO BE NUMBER ONE

115 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561
1.ดำเนินกิจกรรมตาม 3 ยุทธศาสตร์หลัก 2.พัฒนาระบบข้อมูล ,การจัดเก็บข้อมูล ประสานการดำเนินงานให้เกิด โรงเรียนต้นแบบ สถานประกอบการต้นแบบ หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบ ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE ทุกรูปแบบ จัดทำเว็บไซด์ TO BE NUMBER ONE

116 สรุปภาพรวม 116

117 สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ที่ งาน KPI ทั้งหมด ผ่าน ไม่ผ่าน 1. งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 21 12 9 2. งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6 5 1 3. งานป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง 4 4. งานป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ 8 5. งานสุขภาพจิต 11 10 6. งานคุณภาพชีวิตผู้พิการ 7. งานศูนย์พึ่งได้ (OSCC) 2 8. งานป้องกันบำบัดบุหรี่สุรา 7 3 9. งานยาเสพเสพติด 10. งาน TO BE NUMBER ONE รวม 81 58 (71.60) 23 (28.39)

118 แนวทางการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด ปีงบประมาณ 2561

119 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงานNCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 1.เด็กไทยมีสติปัญญาไม่ต่ำกว่าร้อยละ (ปี 2564 ประเมินทุก 5 ปี) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100 2.ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติ (สำรวจทุก 5 ปี) 3.ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกาย ปกติ ร้อยละ 54

120 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 6.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง เบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่ม เสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.5 4.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุ น้อยกว่า 15 ปี ≤ 5.0% 5.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 18/แสนประชากร

121 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 7.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ >ร้อยละ 40 8.ร้อยละของผู้ป่วยโรคโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้>ร้อยละ 50 9. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 90

122 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 10.อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง น้อยกว่าร้อยละ 7 11.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ สุขภาพจิตร้อยละ 50 12. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤ 6.3/แสนประชากร

123 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 14.อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือด หัวใจ 27.4/แสนประชากร 13.ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย Stemi ได้ ร้อยละ 65 15.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายใน ระยะเวลา 4 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85

124 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 16.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด/รังสีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ ร้อยละ 85 17. อัตราตายโรคมะเร็งตับ23.5/แสนประชากร 18.อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร 19.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลง ของeGFR< 4 ml/min/1.73m2/yr ≥ ร้อยละ 65

125 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 21.อัตราคงอยู่ (Retention Rate) วัด ๒ ระยะ ร้อยละ 70 อยู่ในบวนการการบัดรักษา ร้อยละ 60 อยู่ในกระบวนการติดตาม 22. ร้อยละสถานพยาบาลระดับ M และ F ที่ให้บริการการดูแลระยะกลาง ผู้ป่วย HEAD INJURY ผู้ป่วยบาดเจ็บไขกระดูกสันหลัง ผู้ป่วย STROKE 20.ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพ ต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจาก การบำบัดตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92

126 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 23.อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F (ทั้งที่ ER และ Admit) 24.ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบESC คุณภาพ (Emergency Care System) ร้อยละ 70 25.ร้อยละ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F ขึ้นไป ร้อยละ 70

127 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 26.ร้อยละ EMS คุณภาพในโรงพยาบาล ทุกระดับ ร้อยละ 70 27.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma) < ร้อยละ 1 28.ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน ปี ร้อยละ 85

128 PA ปี 2561

129 Performance Agreement : PA กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
1 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบESC คุณภาพ (Emergency Care System) ร้อยละ 70 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25

130 QOF ปี 2561

131 QOF ปี 2561 ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย หมายเหตุ 1.
เป้าหมาย หมายเหตุ 1. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรอง เป็นเบาหวาน ร้อยละประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจน้ำตาลในเลือด ร้อยละ ตัวชี้วัด เดิม 2. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองเป็นความดันโลหิตสูง ร้อยละประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง    ร้อยละ ตัวชี้วัด เดิม

132 QOF ปี 2561 ที่ ตัวชี้วัด เป้า หมาย หมายเหตุ 60 3.
เป้า หมาย หมายเหตุ 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ 60 ตัวชี้วัดเดิม 4. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบน (upper respiratory tract infection ,URI) และหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (acute bronchitis)  20  5. โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)  20 6. ร้อยละการลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC : ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT)  50 

133 QOF ปี 2561 ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย หมายเหตุ 7.
เป้าหมาย หมายเหตุ 7. ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ปี ภายใน 5 ปี  80 ตัวชี้วัดเดิม 8. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ควบคุมได้ >ร้อยละ ตัวชี้วัด เดิม 9. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดัน โลหิตสูงที่ควบคุมได้ >ร้อยละ ตัวชี้วัด เดิม

134 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561
แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561

135 งานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (DM HT)
สถานการณ์ 1.ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2.ผู้ป่วยควบคุมโรคได้น้อย 3.ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน เพิ่มมากขึ้น ผลการดำเนินงาน 1.การคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ X 2.การคัดกรองความดันหิตสูง ร้อยละ83.59 X 3.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ1.38 √ 4.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ X 5.ผู้ป่วยความดันหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ X 6.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตา ร้อยละ X การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้ป่วย 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 3.คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ปัญหาในปี 2560 1.ความครอบคลุมการคัดกรองความเสี่ยงภาวะเบาหวาน ความดัน ยังต่ำ 2.การควบคุมระดับน้ำตาล ความดันโลหิตยังไม่ได้ตามเกณฑ์ ผลงานเด่น 1. อำเภออุทุมพรพิสัย ผ่านการประเมิน NCD Clinic NCD Plus ระดับประเทศ 2.ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ผ่านการประเมินของ กพร. แผนงาน ปี 2561 1. จัดทำแนวทาง กำหนดระเวลา ทบทวน CPG พัฒนาระบบการจัดบันทึก การจัดเก็บข้อมูล 3. พัฒนาระบบ DPAC ในสถานบริการ ขยายเครือข่าย NCD Clinic Plus 5.ติดตามการจัดการรายกรณี โดยใช้ MI

136 งานป้องกันควบคุมโรค Stroke MI ไตวายเรื้อรัง COPD
ผลการดำเนินงาน 1. การคัดกรองความเสี่ยง CVD √ 2.อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง 5.30 √ 3.อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ √ 4.อัตราการให้ยาละลายลิ่มเลือดใน Stroke ร้อยละ 100 √ 5.อัตราการให้ ยาละลายลิ่มเลือดใน Stemi ร้อยละ 100 √ 6.การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต X 7.การลดลงของระดับ eGfR X 8.ระยะเวลารอคอบ HD 30 วัน X 9.ระยะเวลารอคอย CAPD 0 วัน √ 10.อัตราการกำเริบเฉียบพลัน ใน COPD ต่อแสนประชากร X การดำเนินงานปี 2560 1.จัดทำคลินิกบริการ Stroke MI CKD COPD 2.พยาบาลรายกรณี 3.พัฒนาบุคลากร 4.นิเทศงานติดตาม ปัญหาในปี 2560 1.การบูรณาการของทีมสหวิชาชีพ 2.เครื่องมือในการตรวจ ABI, Spirometer,CT ยังน้อย 3. ความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไตยังต่ำ ผลงานเด่น -Unit Stroke รพ.ศรีสะเกษ ผ่านการประเมิน แผนงาน ปี 2561 1.ทบทวน CPG ตาม Service Plan หัวใจ ไต COPD 2.พัฒนาศักยภาพบุคากรในการบริการตามมาตรฐาน 3.พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน และระบบ Fast tract, Unit stroke , warfarin, PAD, CKD, COPD Clinic เฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

137 งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน
สภาพปัญหา 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น 2. กิจกรรมทางกายลดลง ผลการดำเนินงาน 1.ความครอบคลุมการวัดรอบเอววัยทำงาน ร้อยละ X 2.ปชช. 15 ปีขึ้นไปรอบเอวเกิน (ช:90 ญ:80 ม.) √ 3.โรงพยาบาลมี Clinic DPAC ร้อยละ 100 √ 4.วัยทำงานมีดัชนีมวลกาย √ 5.ประเมิน CliNic DPAC 2 แห่งต่อปี √ 6.ประเมินสวนสาธารณะ 1 แห่ง ต่อ ปี √ การดำเนินงานปี 2560 1.คัดกรองกลุ่มเสี่ยง HT DM 2. จัดทำ Clinic DPAC 3. องค์การไร้พุง 4. Fitness ปัญหาในปี 2560 1.ความครอบคลุมการวัดรอบเอว 2. การประเมิน Clinic DPAC ยังไม่ครอบคลุม แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนา Clinic ไร้พุง ต้นแบบ 2.ประเมินองค์กรไร้พุง 10 แห่งได้แก่ ม. กล. อทพ. ยชน. กร. ศร. รษ. นค. หทท. 3. ขยายการดำเนินงาน Clinic DPAC สู่ รพ.สต /อบต. /ส่วนราชการ

138 งานป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง
สถานการณ์ 1.ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2. การคัดกรองกลุ่มเป้าหมายต่ำ ผลการดำเนินงาน 1.ความครอบคลุมตรวจเต้านม ร้อยละ X 2.ความครอบคลุม Pap smear ร้อยละ X 3.ความครอบคลุมตรวจU/Cกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ มะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ x 4.ร้อยละ PT CA 5 อันดับแรก ได้รับการ ผ่าตัด √ -เคมีบำบัด √ -รังสีรักษา x 5. อัตราตายโรคมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี X 6. อัตราตายด้วยมะเร็งปอด 4.75 √ การดำเนินงานปี 2560 1.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเพื่อหามะเร็ง เต้านม ปากมดลูก อัลตร้าซาวด์มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี 2.พัฒนาบุคลากรการจัดทำ ทะเบียน CA 3.พัฒนาระบบบริการ 4.นิเทศติดตาม ปัญหาปี 2560 1.ความครอบคลุมการคัดกรอง ทั้ง ตรวจเต้านม ตรวจ Papsmear U/S ยังต่ำ 2.การส่งต่อ การติดตามกลุ่มเสี่ยง มารับการตรวจวินิจฉัยไม่ครอบคลุม แผนงาน ปี ทบทวน CPG ตาม Service Plan CA 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการตรวจคัดกรองให้ได้ตามมาตรฐาน 3.พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน ระบบ Fast tract , Mammogram 4.พัฒนาระบบข้อมูล และฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็ง

139 งานพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
สถานการณ์ 1.อัตราเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ สูง ผลการดำเนินงาน 1.รพ.ระดับ F2 มีระบบ ESC คุณภาพ ร้อยละ 100 √ 4.จังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ร้อยละ 100 √ 6.รพ.มี Emergency & Truma Admit Unit แห่ง √ 7. รพ.มีระบบ ER /EMS /ESC คุณภาพ ร้อยละ 100 √ การดำเนินงานปี 2560 1.พัฒนาระบบบริการของ เครือข่ายEMS /EMS Rally 2.ประเมินมาตรฐานรถพยาบาล 3.ประเมินคุณภาพการออก ปฏิบัติการ EMSของหน่วยกู้ชีพ ปัญหา 1.การเรียกใช้ ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ 2.รถในระบบEMS ยังไม่ได้ตามมาตรฐาน 3.คุณภาพการออกปฏิบัติการยังไม่ได้ตามเกณฑ์ แผนงาน ปี พัฒนามาตรฐานรถในระบบ EMS ทุกเครือข่าย 2.ประเมินมาตรฐานระบบ ECS ทุกโรงพยาบาล 3.นิเทศติดตาม

140 งานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุ
สถานการณ์ -อัตราเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ สูง ผลการดำเนินงาน 1.อัตราการเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ ทางถนน ต่อแสนประชากร √ 3.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ สาเหตุ 0.30 √ 5.จังหวัดมีการกำหนดจุดเสี่ยง และแก้ไขปัญหา 20 จุด/อำเภอ√ การดำเนินงานปี 2560 1.พัฒนาระบบบริการ 2.ประเมินมาตรฐานรถพยาบาล 4.สอบสวนอุบัติเหตุหมู่ และ Dead Case conference ปัญหา 1.พฤติกรรมบุคคล การไม่สวมหมวก ไม่คาดเข็มคัดนิรภัย 2. การบังคับใช้กฎหมาย การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย แผนงาน ปี ทบทวน CPG ตาม Service Plan สาขาอุบัติเหตุ 2. เฝ้าระวังเตรียมความพร้อมสถานบริการช่วงเทศกาล 3. สำรวจจุดเสี่ยง ประสานเครือข่าย แก้ไขจุดเสี่ยง 4. นิเทศติดตาม

141 งานป้องกันการจมน้ำ สถานการณ์ -อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำสูง
สถานการณ์ -อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำสูง การดำเนินงานปี 2560 1.อบรมครู ข สอนเด็กว่ายน้ำเด็ก จัดหาสระน้ำ 2.สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยง ปักป้ายเตือน มีอุปกรณ์ช่วยชีวิต 3. สอบสวนกรณีเสียชีวิต ประชาคมในหมู่บ้าน 4. ให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองในคลีนิกเด็กดี ANC ศูนย์เด็กเล็ก ผลการดำเนินงาน -อัตราการเสียชีวิต จากการจมน้ำของเด็ก อายุ < 15 ปี ต่อแสน ปชก x ปัญหา 1.เด็กอายุ < 15 ปี เสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น 2.การเฝ้าระวังจากครอบครัว ชุมชน ยังไม่ทั่วถึง แผนงาน ปี ให้ทุกอำเภอมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ผู้ก่อการดี 2.บูรณาการกับ DHS DHB และสอบสวนการเสียชีวิตทุกราย 3.ประเมินผู้ก่อการดีในทุกอำเภอ

142 งานป้องกันควบคุมสุขภาพจิต
สถานการณ์ 1. เด็กมีสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์ การเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้ายังไม่ครอบคลุม การดำเนินงานปี ส่งเสริมสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย 2. เฝ้าระวังภาวะซึมเศร้าเสี่ยงต่อภาวะ ฆ่าตัวตาย 3. คัดกรองพัฒนาการล่าช้า 4. คัดกรองภาวะออทิสติก 5. คัดกรองภาวะปัญญาอ่อน 6.การเข้าถึงบริการผู้ป่วยจิตเวชเด็ก ผลการดำเนินงาน 1.เด็กไทยสติปัญญาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100 : ร้อยละ x 2.เด็กไทยมี EQ อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ78.00 √ 3.จังหวัดมีเครือข่ายกระตุ้นพัฒนาการเด็กล่าช้า ร้อยละ 100 √ 4.เด็กที่มีพัฒนาล่าช้าได้รับการกระตุ้นร้อยละ70.17√ 5.เด็กออทิสติกเข้าถึงบริการ ร้อยละ X 6.เด็กสมาธิสั้นเข้าถึงบริการ ร้อยละ √ 7.อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ 4.85/แสน √ 8. ผู้พยาบาลฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตนเองซ้ำ ร้อยละ √ 9. หน่วยบริการมีการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย 100√ 10. ซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ร้อยละ √ 11.โรคจิตเภทเข้าถึงบริการ ร้อยละ √ ปัญหา 1.การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง 2.ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านจิตเวชเด็ก 3.การค้นหา การส่งต่อ การวินิจฉัย ผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุม แผนงาน ปี พัฒนาเครือข่าย ครู ผู้ปกครอง สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการคัดกรอง ดูแลเด็ก 2.พัฒนาระบบเฝ้าระวังการคัดกรอง การส่งต่อ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ 3.พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูล นิเทศงานเฉพาะกิจ

143 งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ
สถานการณ์ - ผู้พิการมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้พิการ จัดระบบบริการรองรับ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ ตามมาตรฐาน 2.ฟื้นฟูสมรรถภาพ คุณภาพชีวิตผู้พิการ 3.จัดหาการบริการเฉพาะทาง เช่น ผ่าตัดปากแหว่ง 4.จัดทำระบบข้อมูล ผลการดำเนินงาน 1.ผู้พิการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ร้อยละ 100 √ 2. ผู้พิการได้รับการดูแลสมรรถภาพ ด้านการแพทย์ กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 √ 3. ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล สมรรถภาพด้านการแพทย์ กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 √ ปัญหา 1.การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ในการดูแลคุณภาพชีวิตผู้พิการ 2.การคัดกรองในกลุ่มเด็กออติสติก แผนงาน ปี พัฒนาเครือข่าย ครู ผู้ปกครอง สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการคัดกรอง ดูแลเด็ก 2. พัฒนาระบบข้อมูล สำรวจข้อมูลผู้พิการ 3. พัฒนาระบบบริการ การค้นหา การส่งต่อ

144 งานพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
สถานการณ์ 1. ความรุนแรงในเด็ก สตรี เพิ่มมากขึ้น การดำเนินงานปี 2560 1.จัดตั้งศูนย์พึ่งได้ในสถานบริการ สาธารณสุขทุกแห่ง 2.พัฒนาทีมสหวิชาชีพในศูนย์พึ่งได้ 3.ประสานเครือข่ายเพื่อให้การ ช่วยเหลือผู้ถูกกระทำความรุนแรง ผลการดำเนินงาน 1.โรงพยาบาลมีระบบงาน ศูนย์พึ่งได้ชัดเจน ร้อยละ 80 √ 2.ให้การดูแลช่วยเหลือ ประสานงานส่งต่อ Case สำเร็จ ไม่มีปัญหา ร้อยละ 100 √ ปัญหา -การมีส่วนร่วมของชุนชนในการ เฝ้าระวังความรุนแรงในพื้นที่ แผนงาน ปี ประสานการดำเนินงานใน ระดับอำเภอ ตำบล 2.สร้างความตระหนักให้ประชาชนได้รับรู้ ,มีการเฝ้าระวังความรุนแรงในชุมชน 3. ประสาน อปท.และเครือข่ายในการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระทำคาวมรุนแรง

145 งานป้องกันควบคุมบุหรี่สุรา
สถานการณ์ -อัตราการสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น ผลการดำเนินงาน 1.ความชุกของผู้สูบบุหรี่ ในคนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป ร้อยละ √ 2.อัตราการสูบบุหรี่ ปี ร้อยละ X 3.รพ./รพ.สต.จัดบริการ เลิกบุหรี่ 100 √ 4.ผู้ติดบุหรี่เข้าถึงระบบ บำบัดร้อยละ X 5.ผู้ติดสุราเข้าถึงระบบบำบัด 67.05 X การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้สูบบุหรี่ในชุมชน สถานศึกษา ผู้ป่วย NCD 2.จัดบริการคลินิกอดบุหรี่ในสถานบริการ ทุกแห่ง 3.ติดตามผู้สูบบุหรี่ให้รับการบำบัดครบ ตามเกณฑ์ 4.พัฒนาระบบข้อมูลในการดำเนินงาน ปัญหา 1.ผู้ติดบุหรี่ สุราเข้าถึงระบบบำบัดต่ำ 2.พบนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ แผนงาน ปี 2561 1. พัฒนาระบบบริการให้ติดตามผู้ติดบุหรี่มารับการบำบัด 2.พัฒนาระบบข้อมูลบุหรี่สุรา 3. ประสานการดำเนินงาน DHS / Service Plan ผลงานเด่น -จังหวัดดีเด่น ระดับประเทศ ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมบุหรี่

146 งานป้องกันควบคุมยาเสพติด
สถานการณ์ 1. ผู้ติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ผลการดำเนินงาน 1.ผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการ บำบัดไม่กลับเสพซ้ำ ร้อยละ √ 2.ผู้เสพยาเสพติด เข้าโครงการบำบัด ร้อยละ 100 √ 3.อัตราการคงอยู่ในการ บำบัด ร้อยละ √ 4.อัตราการคงอยู่ในการ ติดตามร้อยละ √ 5.ผู้เสพยาเข้าสู่ระบบ สมัครใจ ร้อยละ X 6. HA ยาเสพติด ร้อยละ √ การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้ติดยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา 2.พัฒนาระบบบำบัด ติดตาม HA ยาเสพติด 3.จัดทำระบบข้อมูลยาเสพติด 4.ประสานการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย ปัญหา 1.รพ. ไม่ผ่านประเมิน HAยาเสพติด (พยุห์ ศล. บล. มจ. เมืองฯ) 2.การบำบัดระบบสมัครใจยังน้อย แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนาระบบบำบัด ติดตาม HA ยาเสพติด 2.จัดทำระบบข้อมูลยาเสพติด 3.ค้นหาผู้ติดยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา

147 งาน TO BE NUMBER ONE ผลการดำเนินงาน การดำเนินงานปี 2560
สถานการณ์ 1. ชมรม ศูนย์เพื่อนใจ ไม่ครอบคลุม ผลการดำเนินงาน 1.จัดตั้งชมรมในสถานศึกษาร้อยละ 100 √ 2.จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจร้อยละ100√ 3.สถานบริการมีลูกจ้าง 50 ขึ้นไป และผ่านเกณฑ์ มยส. เข้าชมรม ร้อยละ 100 √ 4.ขยายเครือข่ายสู่ เรือนจำ, สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน,คุมประพฤติ ร้อยละ 100 √ 5.จัดตั้งชมรมในชุมชนร้อยละ20X 6.จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจในชุมชน ร้อยละ 20 X การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้ติดยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา 2.พัฒนาระบบบำบัด ติดตาม HA ยาเสพติด 3. จัดทำระบบข้อมูลยาเสพติด 4.ประสานการดำเนินงานกับเครือข่าย ปัญหา -การดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ผลงานเด่น 1.จังหวัดศรีสะเกษ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับดีเด่น ระดับประเทศ รางวัล TO BE NUMBER ONE IDOL ระดับประเทศ แผนงาน ปี 2561 1.ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ เรือนจำ สถานพินิจคุมประพฤติ 2.ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ 3.จัดทำ WEB Site TO BE NUMBER ONE และประชาสัมพันธ์ถึงครอบครัว ชุมชน

148 ปี 2561 กิจกรรม 1.พัฒนาระบบข้อมูล -จัดทำแนวทางการจัดเก็บข้อมูล
1.พัฒนาระบบข้อมูล จัดทำแนวทางการจัดเก็บข้อมูล 2.จัดทำ CPG 3.จัดทำระบบ Fast Tact

149 ปี 2561 กิจกรรม 4. เชื่อมโยงการดำเนินงาน กับ SERVICE PLAN
5.นิเทศงานเฉพาะกิจ 6.ประชาสัมพันธ์

150 ปี 2561 พื้นที่แหล่งเรียนรู้
1. น้ำเกลี้ยง 2. เบญจลักษ์ 3. ศิลาลาด 4. โนนคูณ 5. พยุห์ เมืองศรีสะเกษ STROKE **กันทรลักษ์**

151 จุดเน้น การดำเนินงาน ปี 2561
1. พัฒนาระบบข้อมูล - สรุป ผลนำเรียนผู้บริหาร ไตรมาสละ 1 ครั้ง นิเทศติดตามในอำเภอที่มีผลงานต่ำ (กลุ่มงาน NCD + IT) -หาแนวทางช่วยเหลือและแก้ไข

152


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google