งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
CLT แม่และเด็ก

2 เข็มมุ่ง

3 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
รูปแบบบริการ: การดูแลผู้ป่วย PPH PPH เป็น Directed cause of Maternal death ที่พบบ่อยที่สุด ในปี พบว่า เขต5 มีมารดาเสียชีวิตจากการตกเลือดหลังคลอด ราย ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี จึงกำหนดให้มีการเผ้าระวังเพื่อลดอัตราการตกเลือด และภาวะแทรกซ้อนจากการตกเลือด หลังคลอด

4 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
BEST PRACTICE : แผนภูมิวิเคราะห์ปัญหา PPH LR ANC : Anemia GDM TAH OR

5 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ: การใช้ถุงตวงเลือด 300 CC CPG PPH Alert line

6 ผลลัพธ์การดำเนินการ ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (อัตราการตกเลือดมารดาหลังคลอด)

7 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ: Prophylaxis B-lynch

8 ผลลัพธ์การดำเนินการ รูปแบบบริการ: PPH IN OR 2558 2559 2560 2561
2558 2559 2560 2561 ใช้ B-Lynch ไม่ใช้ B-Lynch จำนวน C/S (ราย) 536 708 454 746 405 423 634 จำนวน B-Lynch (ราย) 29 28 37 จำนวน TAH (ราย) 1 2 3 Maternal dead (ราย)

9 ผลลัพธ์การดำเนินการ ภาพรวม PPH ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559
2560 2561 อัตราการตกเลือดหลังคลอด(Early) < 5 % 1.02 (22/2148) 1.49 (33/2221) (32/2147) 2.20 (28/1273) - อัตราการตกเลือดหลังคลอดทางช่องคลอด 1.77 (16/904) 1.76 (17/1021) 1.97 (26/1319) 3.76 (24/639) - อัตราการตกเลือดหลังผ่าตัด 0.48 (6/1244) 1.25 (15/1200) 0.72 (6/828) 0.63 (24/634) อัตรา Blood tranfusion ลดลง 13.6 9.0 3.1 3.6 จำนวนผู้ป่วยตกเลือดหลังคลอดที่ต้องตัดมดลูก 3 เสียชีวิต การใช้ถุงตวงเลือดในผู้คลอดทางช่องคลอดทุกราย 95 % NA 30.86 (407/1319) 100 (639/639)

10 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
รูปแบบบริการ: การดูแลผู้ป่วย PIH ภาวะครรภ์เป็นพิษ เป็นภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ ที่เป็นสาเหตุการตายอันดับ 2 รองจากการตกเลือดหลังคลอด การวินิจฉัยที่รวดเร็วและป้องกันการชัก สามารถลดภาวะแทรกซ้อนได้

11 การดูแลผู้ป่วย PIH PIH : เฝ้าระวัง ป้องกัน Eclampsia
Risk group ASA, Calcium, Steroid, control BP/DM Mide PIH Early Dx., Termination Severe PIH MgSO4 (in 10 min.) Eclampsia Asphyxia End organs failure

12 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
ผลด้านการดูแลผู้ป่วย (อัตราการเกิด Severe PIH)

13 ผลลัพธ์การดำเนินการ PIH 2561 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559 2560
2.5 % 3.76 2.36 2.67 1.95 อัตราการเกิด Severe PIH 1.0 % 0.99 0.91 0.75 0.84 อัตราการเกิด ภาวะ Eclampsia 0 ราย อัตราการเกิด End organs failure(CVA,DIC,HELLP, renal failure) อัตรา Severe BA ที่ 5 นาที ของทารกที่คลอดจากมารดา PIH 12:1000 LB 12.5

14 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด (PLP) Progesterone Previous Preterm Tocolytic ป้องกันAsphyxia 8 % Preterm พัฒนาการสมวัย PLP 92 % EBF 1๐ Preterm Early dx.

15 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
ผลด้านการดูแลผู้ป่วย : การให้ยาป้องกัน PLP

16 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
ผลด้านการดูแลผู้ป่วย : Tocolytic Regimen

17 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
PLP ปากมดลูกเปิดมากกว่า 3 ซม. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์และได้รับการวินิจฉัยว่าเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด มีปากมดลูกเปิดมากกว่า 3 ซม.

18 ผลลัพธ์การดำเนินการ ภาพรวม Preterm Birth

19 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
Nutrition : Pregnancy Outcomes Anemia : IQ ลดลง 5-10 จุด ขาด Iodine : IQ ลดลง 13.5 จุด GDM : Birth Asphyxia, Hypoglycemia : PPH, PIH, PLP

20 ผลลัพธ์การดำเนินการ Anemia in pregnancy

21 ผลลัพธ์การดำเนินการ ผลด้านการดูแลผู้ป่วย : ทารกแรกเกิดน้ำหนัก ≥4,000 กรัม เป้าหมาย < ร้อยละ 10

22 Nutrition : Pregnancy Outcome
Iodine : ปรับกระบวนการดูแลผู้ป่วยจากผล Urine Iodine ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559 2560 2561 ร้อยละภาวะพร่อง/ ขาดไทรอยด์ฮอร์โมนในเด็ก ลดลง5% รพ.สส. 4.69 3.04 3.32 2.8 เขต 5 NA 9.3 ร้อยละเด็กแรกเกิดเป็น Hypothyroid 0% 2 0.32

23 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
Breast feeding : กลุ่มเสี่ยงสำคัญ Miss นมแม่ / สหวิชาชีพ ANC : คัดกรอง สร้างความตระหนัก IPD : ช่วยเหลือ Lactation clinic Tongue Tie Team

24 ผลลัพธ์การดำเนินการ Breast feeding : EBF under 6 month (>50%)

25 ผลลัพธ์การดำเนินการ Breast feeding : EBF at 6 month ( >30%)

26 บทเรียนที่ได้เรียนรู้จนเกิดผลลัพธ์
วัยรุ่น : การเข้าถึงบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร Purpose Process Performance การเข้าถึงบริการสาธารณสุข ค่าใช้จ่ายในการคุมกำเนิด การปฏิเสธหัตถการของวัยรุ่น(ความกลัว) Available ผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะ มี พรบ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 จัดบริการผ่านคลินิกวัยรุ่น Youth Friendly Health services(YFHS) สามารถให้บริการได้ทุกวัน เกิด พรบ พรบ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 วัยรุ่นเข้าถึงการคุมกำเนิดมากขึ้น มีความสะดวกในการเข้ารับบริการ จำนวนมารดาวัยรุ่นได้รับการคุมกำเนิดของ รพ.สส เพิ่มมากขึ้น

27 ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : การลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นโดยการคุมกำเนิดกึ่งถาวร 3-5 ปี

28 ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : การลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นโดยการคุมกำเนิดกึ่งถาวร 3-5 ปี

29 ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ การทบทวนทางคลินิก: Uterine rupture
Case รับใหม่ เวลา 9.30 น. HN AN G2P1A0L1 Preg. 38 wks. Previous C/S มาโรงพยาบาลด้วยเจ็บครรภ์ 2 ชม. ก่อนมารพ. 9:30 น. OPD รายงานแพทย์ dx. Previous C/S in labor set C/S stat 9:50 น. ส่ง OR 10:22 น. เด็กเกิด นน กรัม Apgar score 0-0-0 10:55 น. กุมารแพทย์ dx. Severe birth Asphyxia, Dead (CPR 33 นาที) Check list หญิงตั้งครรภ์ทุกคน : เคยผ่าตัดคลอด/ผ่าเนื้องอกมดลูก ปวดท้อง เลือดออก น้ำเดิน ปรับกระบวนการดูแลผู้ป่วย

30 ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ การทบทวนทางคลินิก: Uterine rupture
การเข้าถึงบริการ : Fast track ER to LR/OR ( จาก 60 นาที นาที By pass OPD ) ประเมิน/วินิจฉัย : cont. fetal monitoring early dx. การวางแผนการดูแล : ซ้อมแผน ER to Birth ภายใน 20 นาที LR to Birth ภายใน 10 นาที การให้ข้อมูล : ANC : elective C/S, Previous C/S LR/OR : TR PP/WCC : early ANC การเว้นระยะการตั้งครรภ์

31


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google