การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การวางรูปแบบของสถาบันนวัตกรรมฯ ยุคประเทศไทย 4.0
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
1.
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
นวัตกรรมสังคม ก้าวสู่ Thailand 4.0.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน และการติดตามประเมินผล

เรื่องของตัวชี้วัด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator -KRI ) แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง (เราได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง) ใช้สำหรับการประเมินผล หรือการรายงานให้ผู้คุมนโยบายหรือผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งสังคมทั่วไปทราบ แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้มีหน้าที่บริหารจัดการเพราะไม่สามารถใช้ปรับทิศทางของงานได้เนื่องจากงานเสร็จสิ้นไปแล้ว ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator-PI) แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ (เราต้องทำอะไรบ้าง) ใช้โดยองค์กรระดับกลางและระดับปฏิบัติการเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือในการวางแผนการเงินและงบประมาณ รวมทั้งการประเมินหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator- KPI) มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น ใช้สำหรับติดตามงาน และปรับทิศทางที่ต้องทำทันทีที่เกิดปัญหาต่องานที่เป็น “หัวใจของความสำเร็จ” (Critical Success Factor-CSF) นอกจากนี้ ยังใช้สำหรับกำหนดและติดตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า และต้องมีการติดตามดูความเคลื่อนไหวของตัวชี้วัดอย่างใกล้ชิดโดยผู้ปฏิบัติและผู้จัดการ ตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า

กระบวนการเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพจากภาครัฐสู่ภาคประชาชน เพื่อประสิทธิภาพ เพื่อผลกระทบ(Impact) ความพร้อมของทรัพยากร สร้างตัวชี้วัด Issue-based Activity-based ภาครัฐ Innovate & Create ภาคประชาชน Command & Control

บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่เพื่อผลกระทบที่ดีกว่า การบูรณาการประเด็นปัญหา Spider-web Diagram บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่เพื่อผลกระทบที่ดีกว่า

3.สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม การกำหนดค่ากลางสำหรับโครงการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม 1.เฝ้าระวัง/คัดกรอง 2. มาตรการสังคม 3.สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม 4.ปรับแผนงาน/โครงการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม มาตรฐานวิชาการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม นวัตกรรม ยังไม่มีค่ากลาง

ตารางบูรณาการ : การจัดการกลุ่มวัย กิจกรรม โรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อ โภชนาการ กลุ่มงาน 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรอง โดยประชาชน บูรณาการ 2. การดำเนินมาตรการ ทางสังคม บรรจุงานจากค่ากลางลงในช่องต่างๆ ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง บูรณาการงานตามหัวข้อกิจกรรม เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ (แยกไปทำโครงการเฉพาะ) 3. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การปรับแผนงาน/ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล 5. การจัดการ กลุ่มเป้าหมาย รวมงานทั้งหมดเป็น 1 กลุ่มงาน

ตารางบูรณาการ : การจัดการสภาวะแวดล้อม สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ สังคม/เศรษฐกิจฯ กิจกรรม อาหารปลอดภัย คุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มงาน 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรอง โดยประชาชน บูรณาการ 2. การดำเนินมาตรการ ทางสังคม บรรจุงานจากค่ากลางลงในช่องต่างๆ ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง บูรณาการงานตามหัวข้อกิจกรรม เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ (แยกไปทำโครงการเฉพาะ) 3. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การปรับแผนงาน/ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล

การสร้างโครงการแบบบูรณาการ บูรณาการงานใน 5 กิจกรรม สำคัญของ SRM กลุ่มงานใช้สร้างโครงการ บูรณาการงานใน 4 กิจกรรม สำคัญของ SRM

ทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอ ผู้ปฏิบัติใช้ ปรับปรุงงานตลอดเวลา ทุกเดือน ทุก 3 เดือน

กระบวนการจัดการตัวชี้วัดและการรายงานภายในจังหวัด

การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการในระดับอำเภอ / ตำบล ระดับ ผู้ปฏิบัติ (ท้องถิ่น/ตำบล) ระดับ ผู้จัดการ (อำเภอ/จังหวัด) PI/KPI ไปเขต/ส่วนกลาง PI/KPI จัดระดับโครงการที่ 1 และ 2 (Grading) ส่วนโครงการที่ 3 เพียงรายงานความก้าวหน้า

การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ ในระดับจังหวัดกับส่วนกลาง ผู้บริหารระดับนโยบาย KRI ผู้บริหารระดับจังหวัด วิเคราะห์ทุก 3 เดือน ปรับกลยุทธ์ ฯลฯ ป้อนกลับและ ส่งต่อข้อมูล ทุก 3 เดือน สมรรถนะ แกนนำ

คำแนะนำ ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information) ระดับอำเภอ เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้องถิ่น/ตำบล จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้อมูลใน ระดับต่างๆให้สอดคล้อง พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯกำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบรายงาน ใหม่ตลอดทางจนถึงส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบข้อมูลเดิม

การวางแผนปฏิบัติการ

*ใช้งานในตารางนี้สร้าง PERT / GANTT chart ตารางนิยามงานเพื่อวางแผนปฏิบัติการ (7 ช่อง) กลุ่มงานที่ 1 งาน งาน *ตัวชี้วัดผลสำเร็จย่อยสำหรับผู้ปฏิบัติ งาน กลุ่มงานที่ 2 งาน งาน งาน กลุ่มงานที่ 3 *ใช้งานในตารางนี้สร้าง PERT / GANTT chart เพื่อคุมลำดับการปฏิบัติต่อไป งาน งาน งาน กลุ่มงานที่ ฯลฯ

การจัดลำดับงาน 1. นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง 1. นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง 2. ร่างผังความเชื่อมโยง (PERT Chart) ของงานย่อยต่างๆลงบนกระดาษแผ่นใหญ่ ร่างครั้งแรกไม่จำเป็นต้องถูกต้องเสมอ แต่จะเห็นภาพอย่างสังเขปว่าอะไรทำพร้อมกันได้ อะไรต้องทำก่อนหลัง 3. เขียนเวลาที่ประมาณสำหรับทำงานไว้ท้ายชื่องานในบัญชีงาน (ข้อ 1) 4. ปรับปรุงแก้ไขลำดับความเชื่อมโยงใน PERT Chart (ข้อ 2) จนพอใจ 5. กำหนดตัวผู้รับผิดชอบแต่ละงาน

การสร้างแผนปฏิบัติการ กำหนดเวลาที่ต้องใช้ตั้งแต่ต้นจนจบของแต่ละงาน (จาก ช่อง 6 ของตาราง 7 ช่อง) ร่าง GANTT Chart จากข้อมูลลำดับงานใน PERT Chart และเวลา (จากบัญชีงาน ข้อ 1) 8. เขียนช่วงเวลาเป็นชื่อเดือนและวันที่ (เป็นรายอาทิตย์ เริ่มวันจันทร์) ไว้บนแถบขวางด้านบนของผัง Gantt chart 9. เขียนชื่องานที่ช่องแรก งานบางตัวอาจยุบรวมกันได้ ดูตามเหตุผลสมควร 10. วางแถบงานตามช่วงเวลาที่จะทำ แสดงงานเริ่มจนงานสิ้นสุด (จากข้อ 3)

การติดตามและประเมินผล Monitor ติดตามและประเมินผล Monitor & Evaluate ประเมินผล Evaluate

ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง ตัวอย่าง : ใช้การเปลี่ยนแปลงของระดับคุณภาพของโครงการ พร้อมจำนวนการ ครอบคลุม เป็นตัวชี้วัดผลลัพธ์ –KRI ( ก่อนการลดลงของปัญหา ) จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รร.นวัตกรรมฯทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง สร้าง รร.นวัตกรรมฯ ระดับ 1 2 3 4 5 การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง

www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ขอขอบคุณ