บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Quick Response Code หรือ QR Code (คิวอาร์ โค้ด)
Advertisements

การใส่หมายเลขหน้าข้อความ ปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่ หมายเลขหน้าข้อความ
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
ส่วนประกอบของหน้าต่าง
Barcode Reader On Mobile Phone
Microsoft Office PowerPoint 2003
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Web Standard มาตรฐานเว็บ (web Standard) คือเทคโนโลยีที่องค์กร
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
วิชา การบริหารระบบข้อมูลสำหรับโลจิสติกส์
1. ส่วนข้อมูลนำเข้า 2. ส่วนประมวลผลข้อมูล 3. ส่วนสารสนเทศ.
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit
การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ
Microsof t Office Excel คุณสมบัติของ โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007  สร้างและแสดงรายงานของข้อมูล ตัวอักษร และ ตัวเลข  อํานวยความสะดวกในด้านการคํานวณต่าง.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
15 กันยายน 2559.
What is CSS? CSS (Cascading Style Sheet) ซึ่งเราจะใช้ CSS เพื่อให้แก้ไขคุณสมบัติ ของเว็บเพจ ให้มีหน้าตา สีสันหรือรูปแบบเป็นไปตามที่ต้องการ CSS มีลักษณะคล้ายหน้ากาก.
บาร์โค้ด หรือ รหัสแท่ง (Barcode) เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ได้ผลดี ในการตรวจสอบสินค้าขณะขาย,การตรวสอบยอดการขาย และ สินค้าคงคลัง เราสามารถที่จะอ่านบาร์โค้ด.
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
Northen College Business Computer Faculty of Business Administration.
Introduction to VB2010 EXPRESS
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 1. การย้ายมูลไก่ออกจากโรงเรือน
ความผิดอื่นๆเกี่ยวกับเงินตราปลอม เงินตราแปลง
“หลักการแก้ปัญหา”.
รหัสลับในการตรวจสอบเครื่องสมาร์ทโฟนระบบ android
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ชุมชนต้นแบบด้านพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
ADOBE Dreamweaver CS3.
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
หลักการสัมมนา ความหมาย เป้าหมายและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบของการสัมมนา.
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน
การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
ติดตั้งโปรแกรม คลายไฟล์ zip แล้ว อ่านคำแนะตำติดตั้งในไฟล์ readme.txt
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การประชุมซ้อมความเข้าใจการลงทะเบียนและ
SBAR.
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
วิธีเข้าระบบทดสอบจริยธรรมตำรวจ
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
มาตรฐานสำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า Standard of Power System Design
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
ธุรกิจออนไลน์ สิทธิเดช ลีมัคเดช Tel:
ตู้หยอดเหรียญผักสลัด ดึงเกษตรกรเข้าถึงผู้บริโภคในเมือง
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
BARCODE By Group 3.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ คืออะไร คือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์นับวันมีบทบาทมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความ ตื่นตัวของผู้บริโภคและกระแสโลกานุวัตรกระตุ้นให้รัฐต้องออกกฎหมายมาควบคุม และข้อบังคับที่มีความสำคัญต่อวงการบรรจุภัณฑ์ พร้อมทั้งแหล่งที่จะค้นคว้า รายละเอียดข้อมูล บท/หน้า (8/1) (23/12/2559)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.1.1 พระราชบัญญัติ มาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466 พ.ร.บ. ฉบับนี้ร่างขึ้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้บริโภคสินค้า ตามปริมาณที่กำหนด ซึ่งจะได้ผลดีเพียงใดอยู่กับความร่วมมือของผู้ประกอบการใน การดูแลเอาใจใส่ในการบรรจุสินค้าของตัวเองให้ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนี้ในประกาศกระทรวงพาณิชย์ฉบับล่าสุดคือ ฉบับที่ 13 ปี พ.ศ. 2539 ได้กำหนดให้สินค้าบางประเภทบรรจุตามปริมาณที่กำหนด ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่กำหนดให้บรรจุตามปริมาณที่กำหนดระบุอยู่ในท้ายประกาศดังกล่าว ประกอบด้วย อาหารปรุงแต่ง เครื่องดื่มและน้ำส้มสายชู บท/หน้า (8/2) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.1.2 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 สาระสำคัญในพระราชบัญญัติฉบับนี้สามารถแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การขึ้นทะเบียนตำรับอาหารและฉลากอาหาร 1) การขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 กำหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าซึ่งอาหารควบคุมเฉพาะ ต้องนำอาหารนั้นมาขอขึ้น ทะเบียนตำรับอาหารก่อน เมื่อได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนแล้วจึงผลิตหรือนำเข้า เพื่อจำหน่ายได้หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ บท/หน้า (8/3) (23/12/2559)

บท/หน้า (8/4) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ ประเภทอาหารที่ต้องขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1 อาหารควบคุมเฉพาะ มี 39 ประเภท 2 อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานมี 9 ประเภท 3 อาหารที่กำหนดให้เป็นอาหารที่ต้องมีฉลากมี 2 กลุ่มคือ 3.1 กลุ่มอาหารที่ต้องส่งมอบฉลากให้คณะกรรมการอาหารและยา (อย) พิจารณาก่อนนำใช้ 3.2 กลุ่มอาหารที่ไม่ต้องส่งมอบให้คณะกรรมการอาหารและยา (อย) พิจารณา บท/หน้า (8/5) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 2) การขอขึ้นทะเบียนฉลากอาหาร อาหารควบคุมเฉพาะที่กำหนดคุณภาพและที่กำหนดให้มีฉลากต้องขึ้นทะเบียนอาหาร และขออนุญาตใช้ฉลาก มี 4 กลุ่มคือ 1. อาหารควบคุมเฉพาะที่ผลิตจากสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าข่ายเป็น โรงงาน คือ มีเครื่องจักรตั้งแต่ 5 แรงม้า หรือ คนงาน 7 คนขึ้นไป ฉลากอาหารที่ใช้ของ กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยตัวอักษร "ผ" เช่น "นป" หมายถึง น้ำปลา และ "ช" หมายถึง น้ำส้มสายชูซึ่งเป็นอาหารควบคุมเฉพาะใน 39 ประเภท บท/หน้า (8/6) (23/12/2559)

ตัวอย่าง ฉลากพร้อมเครื่องหมาย อย. บท/หน้า (8/7) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 2. อาหารที่ถูกกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน 3. อาหารที่ถูกนำเข้าประเทศเพื่อจำหน่ายซึ่งไม่ใช่อาหารควบคุม เฉพาะ 4. อาหารอื่นที่มีการจำหน่ายและรัฐมนตรีออกประกาศกำหนดให้ เป็นอาหารที่ต้องมีฉลาก คือ อาหารประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 และบางส่วนของ ประเภทที่ 4 ตามที่ประกาศกำหนดต้องมีฉลากที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา บท/หน้า (8/8) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.1.3 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2522 ถือได้ว่าเป็นกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทยที่มีการ จัดตั้งหน่วยงานของรัฐบาลเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคโดยตรง เนื่องจากกฎหมาย อื่นๆ ส่วนการดำเนินทางแพ่งก็เป็นภาระและเสียค่าใช้จ่ายมากทั้งผู้บริโภคส่วนใหญ่ยัง ไม่อยู่ในฐานะที่จะดำเนินคดีด้วยตนเอง วิธีการดำเนินตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ได้ บัญญัติให้องค์กรของรัฐมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุม การดูแล และประสานการ ปฏิบัติงานของส่วนราชการ บท/หน้า (8/9) (23/12/2559)

2 สิทธิที่ตะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ โดยปราศจากการผูกขาด บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1) สิทธิของผู้บริโภค ผู้บริโภคมีสิทธิจะได้รับความคุ้มครองตาม กฎหมาย 4 ข้อดังนี้ 1 สิทธิที่ได้รับข่าวสาร รวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ 2 สิทธิที่ตะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ โดยปราศจากการผูกขาด 3 สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือ บริการ 4 สิทธิที่จะได้รับการชดเชยความเสียหายจากการใช้ สินค้าหรือบริการ บท/หน้า (8/10) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 2) องค์กรของรัฐตาม พ.ร.บ องค์กรคุ้มครองของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ คุ้มครองสิทธิ คือ ด้านโฆษณา (มีคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา) และด้านฉลาก รับ เรื่องร้องทุกข์พิจารณาความผิดที่เกิดขึ้นทั้งในกรุงเทพและจังหวัดอื่นๆ 3) การคุ้มครองผู้บริโภคด้วยฉลากสินค้า ความหมายของฉลาก สินค้าตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 คือคำว่า ฉลาก ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 กำหนดให้หมายถึงรูป รอยประดิษฐ์ กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทำให้ปรากฏข้อความเกี่ยวกับสินค้า บท/หน้า (8/11) (23/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ สินค้าที่กำหนดให้เป็นสินค้าควบคุมฉลากมีดังนี้ 1 สินค้าที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ เนื่องจากการใช้สินค้าหรือโดยสภาพของสินค้านั้น เช่น ภาชนะพลาสติก เต้ารับ- เต้าเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์ เครื่องตัดวงจรไฟฟ้า 2 สินค้าที่ประชาชนทั่วไปใช้เป็นประจำซึ่งการกำหนดของฉลาก สินค้านั้นจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภค เกี่ยวกับสินค้านั้น เช่น สีผสมอาหาร สมุด ปากกาลูกลื่น ภาชนะกระดาษที่ใช้กับอาหาร กระดาษเช็ดหน้า กระดาษชำระ เป็นต้น 3 สินค้าที่ยังไม่มีกฎหมายอื่นใดมาควบคุม บท/หน้า (8/12) (24/12/2559)

สินค้าที่กำหนดให้เป็นสินค้าควบคุมฉลาก บท/หน้า (8/13) (24/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.1.4 พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือที่รู้จักกันในนามของ "สมอ" เป็น หน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม โดยได้รับการจัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 1) ความหมายของมาตรฐานอุตสาหกรรม มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมคือ ข้อกำหนดทิศทางวิชาการที่สำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้จัดทำขึ้น บท/หน้า (8/13) (24/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 2) วัตถุประสงค์ของการมีมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สามารถจำแนก ได้ดังนี้ 1. เพื่อสร้างความเชื่อถือผลิตภัณฑ์ทำการปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการซื้อขาย ขจัดปัญหาและ อุปสรรคทางการค้าต่างๆ 3. เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตแลทรัพย์สินของประชาชน 4. เพื่อให้เกิดการประหยัดทรัพยากรและค่าใช้จ่ายในการใช้งาน และผลิต 5. เพื่อเป็นสื่อเชื่อมโยงในอุตสาหกรรมต่อเนื่องและประสานกัน ได้พอดี บท/หน้า (8/15) (24/12/2559)

เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม บท/หน้า (8/16) (24/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.1.5 องค์กรที่รับผิดชอบพระราชบัญญัติเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1) สำนักงานกลางมาตราชั่งตวงวัด กรมทะเบียนการค้า กระทรวง พาณิชย์ 2) คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 3) คณะกรรมการการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี 4) สำนักงานมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรมอาหาร (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม บท/หน้า (8/17) (24/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.2 หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ สรุปได้ดังนี้ 8.2.1 องค์กรของรัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการบรรจุภัณฑ์ องค์กรทั้งทางส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์มีดังนี้คือ 1) ส่วนอุตสาหกรรมการเกษตร สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์และวิจัย ข้อมูลทางเทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ อุตสาหกรรมการเกษตร 2) ส่วนบรรจุภัณฑ์ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม มีหน้าที่ให้บริการ บท/หน้า (8/18) (24/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 3) ศูนย์บริการการออกแบบ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมการส่งออก 4) ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย196 5) สถาบันค้นคว้าและวิจัยผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บท/หน้า (8/19) (24/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.3 องค์กรเอกชนที่ให้การส่งเสริมการบรรจุภัณฑ์อาหาร 8.3.1 สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย วัตถุประสงค์ของสมาคม มีดังนี้คือ 1. การส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบการเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 2. ส่งเสริมและเผยแพร่วิชาการที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหารทุกประเภท 3. เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการ 4. ติดต่อประสานงานกับสมาชิกเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ให้ก้าวหน้า บท/หน้า (8/20) (25/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.3.2 สถาบันอาหาร 8.3.2 สถาบันอาหาร มีหน้าที่สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการอาหารใน 3 ด้าน คือ 1. การบริการวิชาการ 2. การเผยแพร่บริการข้อมูลข่าวสาร 3. การบริการทดสอบวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร บท/หน้า (8/21) (25/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.3.3 สถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย 8.4 รหัสแท่งหรือบาร์โค้ด (Bar Code) รหัสแท่งหรือบาร์โค้ดเป็นเลขหมายประจำตัวสินค้า ผู้ประกอบการใดที่ได้ลงทะเบียนกับ สถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทยจะได้หมายเลขประจำขององค์กรนั้น บท/หน้า (8/22) (25/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.1 ระบบรหัสแท่งที่ใช้กัน 1) UPC (Universal Product Code) พิมพ์บนสินค้าอุปโภคบริโภค เช่น ฉลากและหีบห่อในปัจจุบันใช้อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเท่านั้น 2) EAN (European Article Numbering) ทำงานด้านวิชาการเพื่อ สร้างระบบบาร์โค้ด 3) ITF (Interleaved 2 of 5) เป็นรหัสแท่งที่ดัดแปลงจากระบบ EAN ส่วนใหญ่ใช้พิมพ์ด้านนอกกล่องลูกฟูกหรือหน่วยขนส่ง 4) Code 39 เป็นรหัสที่นิยมใช้กันในวงการอุตสาหกรรมทั่วไป บท/หน้า (8/23) (25/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.2 รายละเอียดของรหัสแท่ง 8.4.2 รายละเอียดของรหัสแท่ง 1) ส่วนที่สำหรับให้คอมพิวเตอร์อ่าน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ 2) ส่วนที่เป็นเลขอารบิค เป็นตัวเลขที่มีไว้อ่าน พิมพ์อยู่ตรง ส่วนล่าง 3) ตัวเลข 5 ตัวหลังถัดจากตรงเส้นคั่นกลาง คือ หมายเลข ประจำตัวสินค้าที่ตั้งขึ้นเอง 4) ตัวเลขสุดท้าย เป็นตัวตรวจสอบของคอมพิวเตอร์ ว่าตัวเลขที่ อยู่ข้างหน้านั้นถูกต้องหรือไม่ บท/หน้า (8/24) (25/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.3 การทำงานของระบบรหัสแท่ง 8.4.3 การทำงานของระบบรหัสแท่ง สั่งพิมพ์ราคาบนใบเสร็จรับเงินของสินค้าชนิดนั้นๆ หรือตัดสต๊อกของ สินค้าที่จำหน่ายไป เป็นต้น 8.4.4 ข้อควรปฏิบัติในการออกแบบบรรจุภัณฑ์พร้อมรหัสแท่ง 1) ขนาดความกว้างของรหัสแท่ง ควรจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ 2) พื้นที่ว่างก่อนและหลังของตัวสัญลักษณ์รหัสแท่ง ควรจะมากกว่า 3.6 มิลลิเมตรทั้ง 2 ข้าง 3) การพิมพ์สัญลักษณ์บาร์โค้ดบนหีบห่อที่เป็นวัสดุโปร่งใส เช่น การ ใช้พลาสติกใสเป็นพื้นที่ว่างด้านหลังของสัญลักษณ์บาร์โค้ด บท/หน้า (8/25) (25/12/2559)

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.5 สีที่ควรใช้กับรหัสแท่ง 8.4.5 สีที่ควรใช้กับรหัสแท่ง คู่สีที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการพิมพ์สัญลักษณ์บาร์โค้ดอัน ประกอบด้วยแท่งบาร์ (Bar) กับพื้นที่ว่างด้านหลัง (Background) 8.4.6 การออกแบบตำแหน่งที่ติดรหัสแท่งบนบรรจุภัณฑ์ โดยพิจารณาถึงความสะดวกเมื่อรูดผ่านสแกนเนอร์ ในกรณีที่ สินค้าไม่สามารถคงรูปร่างได้ เช่น เสื้อผ้าหรือสินค้ามีขนาดเล็ก แนะนำให้ใช้วิธีติด รหัสแท่งบนป้ายแขวน 8.4.7 ประโยชน์ของรหัสแท่ง การจัดระบบรหัสแท่งที่ได้กล่าวมาแล้วจะพบว่าหมายเลขของ สินค้าแต่ละประเภทของแต่ละบริษัทไม่มีโอกาสซ้ำกัน ด้วยเหตุนี้ บท/หน้า (8/26) (25/12/2559)

อาจจะมีข้อสอบอยู่ในนั้น จบการนำเสนอ ทำแบบฝึกหัดท้ายบท บ้างนะ อาจจะมีข้อสอบอยู่ในนั้น บท/หน้า (8/27) (25/12/2559)