งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit

2 การตรวจสอบข้อมูล ทำไมจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ?
Check Digit การตรวจสอบข้อมูล ทำไมจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ? การบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงไปในระบบคอมพิวเตอร์ที่กระทำโดยมนุษย์ อาจจะมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ (human error) การตรวจสอบความถูกต้องโดยอาศัยข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องใช้เวลาในการเข้าถึงและสิ้นเปลืองทรัพยากรเป็นอย่างมาก

3 Check Digit การตรวจสอบข้อมูล ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขที่ออกให้โดยหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหมายเลขบัตรประชาชน หมายเลขบัญชีธนาคาร หมายเลข ISBN หรือ รหัสสินค้าที่เป็นรหัสบาร์โค้ด (EAN13) จะมีหมายเลขที่เป็นตัวที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของชุดตัวเลขทั้งหมดว่าถูกต้องหรือไม่

4 Check Digit การตรวจสอบข้อมูล การตั้งรหัสต่างๆ เช่น รหัสบัตรเครดิต, รหัสสมุดเงินฝากธนาคาร, หมายเลข ISBN , เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน เป็นต้น รหัสเหล่านี้จะมีการตรวจสอบข้อมูลโดยใช้ Check Digit MODULUS 10 MODULUS 11

5 Check Digit MODULUS 10 กำหนดน้ำหนักให้หลักแต่ละหลักของตัวเลขที่ตั้งขึ้นมา โดย ตำแหน่งเลขคี่ ให้ค่าเป็น ตำแหน่งเลขคู่ ให้ค่าเป็น 1 นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 ถ้ามีค่ามากกว่า 9 ให้นำหลักหน่วยกับสิบ บวกกันก่อน (เช่น คูณกันแล้วได้ 18 ก็นำ ค่าที่ได้คือ 9) บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน นำค่าที่ได้ หารด้วย 10 เหลือเศษเท่าไหร่ นำเศษนั้นไปลบออกจาก 10 อีกครั้ง ผลลัพธ์ที่ได้คือ check digit ให้นำไปใส่ต่อท้ายชุดของตัวเลขนั้น

6 MODULUS 10 เช่น จงหา Check Digit ของรหัส 96438 Code 9 6 4 3 8
ให้น้ำหนัก นำมาคูณกัน (1+6=7) ผลที่ได้นำไปบวก = 33 นำไปหารด้วย 10 เหลือเศษ = 3 เอา 10 ตั้งแล้วลบด้วยเศษที่เหลือ = 7 จะได้รหัสใหม่เป็น

7 MODULUS 10 ตัวอย่าง รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 10 ได้แก่
Check Digit MODULUS 10 ตัวอย่าง รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 10 ได้แก่ หมายเลขบัตรเครดิต เลขสมุดบัญชีธนาคาร เลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

8 Check Digit MODULUS 11 กำหนดน้ำหนักโดยเริ่มจากหลักหน่วย โดยหลักหน่วยให้ค่าเริ่มต้นเป็น 2 ในหลักถัดไปก็บวก เพิ่มทีละ 1 นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน นำค่าที่ได้ หารด้วย 11 เหลือเศษ ให้นำเศษนั้นไปลบออกจาก 11 ถ้าลบแล้วมีค่าเป็น 10 นำ 0 ไปเป็น check digit ถ้ามีค่าเป็น 11 นำ 1 ไปเป็น check digit ถ้าต่างจากนี้นำค่านั้นไปเป็น check digit

9 MODULUS 11 เช่น จงหา Check Digit ของรหัส 347388 Code 3 4 7 3 8 8
ให้น้ำหนัก นำมาคูณกัน ผลที่ได้นำไปบวก = 132 นำไปหารด้วย 11 เหลือเศษ = 0 เอา 11 ตั้งแล้วลบด้วยเศษที่เหลือ = 11 ถ้าได้ 11 ค่า check digit จะเป็น 1 จะได้รหัสใหม่เป็น

10 MODULUS 11 รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 11 เช่น หมายเลข ISBN
Check Digit MODULUS 11 รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 11 เช่น หมายเลข ISBN เลขประจำตัวประชาชน

11 International Article Numbering Association (EAN) in Europe
Check Digit EAN13 International Article Numbering Association (EAN) in Europe กำหนดน้ำหนักโดยเริ่มจากตำแหน่งแรกเป็น 1 ตำแหน่งถัดมาเป็น 3 แล้วตำหน่งถัดไปก็ย้อนเป็น 1 และ 3 ไปเรื่อยๆนำ ตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน นำค่าที่ได้ หารด้วย 10 เหลือเศษ ให้นำเศษนั้นไปลบออกจาก 10 นำค่านั้นไปเป็น check digit

12 ให้นิสิตเขียนคลาสสำหรับ Check digit Modulus 10 Modulus 11
Conclusions ให้นิสิตเขียนคลาสสำหรับ Check digit Modulus 10 Modulus 11


ดาวน์โหลด ppt การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google