งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด

2 Visual Basic. NET คืออะไร. Visual Basic
Visual Basic .NET คืออะไร ?  Visual Basic .NET คือ ภาษาโปรแกรมภาษาหนึ่งที่มีบริษัท Microsoft ได้สร้างขึ้น ใช้งานสำหรับเขียนโปรแกรมภายใต้ .NET Framework  Visual Basic .NET จัดว่าเป็นภาษา ระดับ Basic ซึ่งเริ่มแรกการเขียนโปรแกรมบนระบบปฎิบัติการ MS-DOS และต่อมาได้พัฒนาเป็น Visual Basic สำหรับเขียนโปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบการฟิก (Graphic User Interface - GUI )  ใน Version ของ Visual มีมากมายตามการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ก็มีตามดังนี้  Visual Basic .NET 2003 หรือ VB7.1 Visual Basic .NET 2005 หรือ VB8 Visual Basic .NET 2008 หรือ VB9 Visual Basic .NET 2010 หรือ VB10 รู้จักกับ Microsoft Visual Basic Studio Microsoft Visual Studio คือ ชุดพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษา .NET Visual Studio เป็นชุดพัฒนาแบบ IDE ( Integrated Development Environment ) หมายถึง สภาพแวดล้อมที่รวบรวมเครื่องมือไว้สำหรับพัฒนาโปรแกรมได้อย่างครบสมบูรณ์ การรัน ทดลอง แก้ไข ออกแบบหน้าจอ เขียนโค้ด ฯลฯ

3

4 การบันทึก คลิก File > Save All หรือ Ctrl + Shift + S เป็นการบันทึกงานทั้งหมด

5 การเปิดโปรเจ็ค คลิก File > New > Project หรือ Ctrl + Shift + N

6 เลือก Windows Form Application >> คลิก OK

7 การปิดโปรเจ็ค คลิก File > Close หรือ กด X ตามรูปก็ได้

8 การรัน , การใช้ IntelliSense, แก้ข้อผิดพลาด
การทดสอบโปรแกรม (การรันโปรแกรม) คลิกปุ่ม เพื่อทำการทดสอบโปรแกรม หรือ กด F5

9 การแก้ข้อผิดพลาดของโปรแกรม
ปกติโค้ดของ Visual Basic ที่จะเกิดข้อผิดพลาดได้เนื่องเกิดมาจากการเขียนผิด เขียนรูปแบบผิด ( Syntax Error) ซึ่งเมื่อมีการรันโปรแกรมถ้ามีข้อผิดพลาดของโค้ดโปรแกรมจะมี popup เด้งขึ้นมา ให้ทำการเลือก No เพื่อกลับไปแก้ไขในส่วนที่ผิด

10 การใช้ IntelliSense ใน Code Editor
จะมี popup เด้งขึ้นมาให้เลือก ถ้าจะเลือกกด Space Bar หรือเลื่อนลงเพื่อเลือก

11 การเขียนโค้ดโปรแกรม การเขียนโค้ดโปรแกรม ขั้นตอนนี้จะเป็นการเขียนโค้ดโปรแกรมหลังจากที่เราออกแบบหน้าตาโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว จะทำการเพิ่มชุดคำสั่งให้ออบเจ็คแต่ละตัวทำงานตามชุดคำสั่ง ในการที่จะเขียนโค้ดลงนั้นต้องเข้าไปในหน้า Code Editor มีวิธีการดังนี้ คลิกตรง Form1.vb ตามรูป เพื่อเข้าหน้าต่าง Code Editor จะได้ หน้าต่าง Code Editor ตามรูป

12 หรือจะดับเบิ้ลคลิกตรงออบเจ็คเลยก็ได้ ดังนี้
คลิก File > Save All หรือ Ctrl + Shift + S เป็นการบันทึกงานทั้งหมด

13 ดับเบิ้ลคลิกตรง Button 1 เพื่อที่จะเขียนโค้ดลงไป
ตามรูป จะเขียนโค้ดการปิดฟอร์มหรือปิดโปรแกรม Me.Close()

14 การกำหนดชื่อตัวแปร ตัวแปร หมายถึง ชื่อที่ใช้ในข้อมูลชนิดต่างๆ โดยข้อมูลที่นำมาเก็บตัวแปรจะต้องตรงกับชริดของข้อมูลที่กำหนดไว้ การนำข้อมูลไปใช้งานมีวิธีดังนี้ 1. ชื่อของตัวแปรต้องเริ่มต้นด้วยตัวอักษร a-z เท่านั้น เป้นตัวพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ก็ได้ ส่วนตัวถัดไปจะเป็นตัวอักษร หรือตัวเลขก็ได้ 2. ห้ามใช้อักษรชนิดพิเศษอื่นๆ ยกเว้น _ ( understand ) เท่านั้น 3. ต้องไม่ซ้ำกับ Reserved Words หรือ คำสงวน ใน Visual Basic

15 การบันทึก คลิก File > Save All หรือ Ctrl + Shift + S เป็นการบันทึกงานทั้งหมด

16


ดาวน์โหลด ppt การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google