งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2559 – 31 มีนาคม 2560) 4 เมษายน 2560

2 น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมาย
ภาพรวมสถานการณ์ดำเนินงานตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย 23 ตัวชี้วัด น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมาย ร้อยละ ของเป้าหมาย ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย ประมวลผลเมื่อสิ้นปี 1. เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการทุกคน พบสงสัยล่าช้าไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 (ผล 14.6) 1. เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 (ผล 50.1) 1. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 (ผล 93.1) 1. อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2. การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 (ผล 16.8) 2. เด็กวัยเรียน 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66 (ผล 65.3) 2. ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 30 (ผล 62.2) 2. เด็กอายุ 3 ปี ฟันไม่ผุ ร้อยละ 50 3. ผู้สูงอายุ (60-74 ปี) มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบ ร้อยละ 43 (ผล 19.2) 3. วัยทำงานอายุ ปี มีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 54 (ผล 51.2) 3. เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 52 (ผล 70.3) 3. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50 4. ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวด ล้อมในชุมชนอย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน (1,000 ตำบล) (ผล 236) 4. ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 (ผล 40.3) 4. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 42 ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน (ผล 25.4) 4. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBIT) 5. รพ.ที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ร้อยละ 75 (ผล 43) 5. จำนวนงานวิจัย ผลงานวิชาการ และนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ อย่างน้อย 4 เรื่อง (ผล 3 เรื่อง) 5. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 1.4 ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน (ผล 0.4) 6. ภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 50 6. จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (10 จังหวัดในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ) (ผล 10) 7. ความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ ร้อยละ 75 8. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2 หมวด (หมวด 2, 4) 8 ตัววัด 6 ตัววัด 5 ตัววัด 4 ตัววัด

3 อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ
มาตรการหลัก 1. พัฒนาระบบข้อมูลการเฝ้าระวังการตายมารดา 2. พัฒนาระบบฝากครรภ์และการคลอดคุณภาพ 3. พัฒนามาตรฐานบริการอนามัยแม่และเด็กเทียบเท่าสากล แหล่งที่มา : การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ตรวจสอบโดยสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ข้อสังเกต มาตรการเสริม ภาพรวมประเทศ : มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ภาพเขต : เขต 1, 4 และเขต 12 มีอัตราการตายมารดาและจำนวนมารดาตายสูงมากเมื่อเทียบกับเขตอื่น ส่วนภูมิภาค 1. ส่งเสริมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (ศอ. 7) 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ (ศอ.7)

4 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
มาตรการหลัก สร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2. ประสานแหล่งเงินทุน, ผลักดัน Code milk, ปรับมาตรฐานอนามัยและเด็ก 3. ใช้กลไก MCH Board 4. ใช้มาตรการทางกฎหมาย 5. สร้างกลไกสื่อสารสาธารณะ 6. สร้างความตระหนักรู้โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 7. ส่งเสริมทักษะความเป็นเลิศของเด็ก แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : ผ่านเกณฑ์แต่มีแนวโน้มลดลง ภาพเขต : ทุกเขตมีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 90 มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค 1. coaching เทคนิคในการตรวจประเมิน (ศอ.1) 2. มีระบบการขึ้นทะเบียนเด็กกลุ่มเป้าหมาย (ศอ.5)

5 เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาทุกคน พบสงสัยล่าช้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มลดลง แต่เมื่อพิจารณารายเดือน (ปี 60) มีแนวโน้มสูงขึ้น ภาพเขต : ทุกเขตมีผลการดำเนินงานที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเฉพาะเขต 4 และเขต 6

6 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 30
ข้อสังเกต แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มสูงขึ้น ภาพเขต : ทุกเขตมีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ แหล่งที่มา : การสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย สำนักส่งเสริมสุขภาพ ปี 2557

7 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน ร้อยละ 51
มาตรการหลัก 1. พัฒนาตำบลส่งเสริมเด็กสูงดี สมส่วน 2. ขับเคลื่อนผ่านกองทุนสุขภาพตำบล 3. ขับเคลื่อนนโยบายโภชนาการ 2,500 วันแรก และดื่มนมแห่งชาติ 4. ส่งเสริมการสื่อสารสาธารณะ 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ภาคีเครือข่าย และสร้างระบบพี่เลี้ยง 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการ แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักโภชนาการ กรมอนามัย ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มสูงขึ้น ภาพเขต : ทุกเขตมีผลการดำเนินงานที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ยกเว้นเขต 3 ที่ผลการดำเนินงานปี 2560 ยังมีแนวโน้มลดลง 2. มี 6 เขต ที่มีผลการดำเนินงานผ่านเป้าหมาย มาตรการเสริม ส่วนกลาง : MOU 4 กระทรวงหลัก ส่วนภูมิภาค : พัฒนารูปแบบบริการด้านโภชนาการในคลินิกฝากครรภ์และ คลินิกสุขภาพเด็กดี (ศอ.12)

8 เด็กอายุ 3 ปี ฟันไม่ผุ ร้อยละ 50
มาตรการหลัก 1. สร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2. ขับเคลื่อนและดำเนินงานผ่านชุดสิทธิประโยชน์ (กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) 3. ใช้กลไกกำกับติดตามผ่าน MCH board, Dental board 4. ส่งเสริมการสื่อสารสาธารณะ มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค 1. กระจายทันตาภิบาลลง รพ.สต. มากขึ้น (ศอ. 7) 2. การนิเทศติดตามให้คำปรึกษาการดำเนินงานแก่ทันตาภิบาลใน รพ.สต. (ศอ. 7) แหล่งที่มา : การสำรวจ สำนักทันตสาธารณสุข หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2560 อยู่ระหว่างการสำรวจ ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มขึ้นๆ ลงๆ ภาพเขต : เขต 9 มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ต่อเนื่อง 3 ปี ที่เหลือยังไม่ผ่านเกณฑ์

9 เด็กวัยเรียน 6-14 ปี สูงดี สมส่วน ร้อยละ 66
มาตรการหลัก 1. พัฒนาเครือข่าย รร.เด็กไทยสุขภาพดี 2. ขับเคลื่อนผ่าน สปสช. และกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น 3. ขับเคลื่อนนโยบายเด็กไทยสุขภาดี สูงดีสมส่วน และนโยบายดื่มนมแห่งชาติ 4. สร้างความเข้มแข็งตามนโยบาย รร.ส่งเสริมฯ 5. สร้างกระแสผ่านสื่อสาธารณะ 6. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวัง 7. พัฒนาการเรียนรู้ของเด็กผ่านนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักโภชนาการ ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : มีแนวโน้มสูงขึ้น และผ่านเกณฑ์ ภาพเขต : ส่วนใหญ่มีแนวโน้มสูงขึ้น และมีเขต 4, 7 และ 9 ที่ผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ต่อเนื่อง 4 ปี มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค : การมีหลักสูตร/แผนพัฒนาทีม Family Coacher (ศอ. 5,10)

10 เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 52
มาตรการหลัก 1. ใช้กลไกผ่าน อปท. และกระทรวงศึกษาธิการ 2. ประสานแหล่งทรัพยากรจาก สปสช. 3. ขับเคลื่อนนโยบาย รร.ปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง 4. รณรงค์สร้างกระแส และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายเด็กไทยฟันดี 5. ส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพช่องปากผ่านนโยบาย"ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้" และฝึกอบรมในระดับพื้นที่ แหล่งที่มา : การสำรวจ สำนักทันตสาธารณสุข หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2560 จากระบบ HDC ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มเริ่มสูงขึ้น ภาพเขต : มีเพียงเขต 9 เขตเคียวที่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ต่อเนื่อง ถ้าพิจารณาจากข้อมูลการสำรวจของสำนักทันตสาธารสุข มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค 1. กำหนดแนวทางการเคลือบหลุมร่องฟัน เด็ก 7-12 ปี ได้รับการตรวจฟันทุกคนปีละครั้ง (ศอ. 7) 2. มีโครงการนมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกอำเภอ (ศอ. 7)

11 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี
ไม่เกิน 42 ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน มาตรการหลัก 1. ขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันการตั้งครรภ์ฯ 2. ผลักดันยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฯ 3. เร่งรัดให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องออกมาตรการทางกฎหมาย 4. ประสาน อปท. สนับสนุนการดำเนินงาน 5. สร้างกระแสผ่านสื่อสาธารณะ 6. พัฒนาระบบริการสุขภาพอนามัยการเจริญพันธุ์ และส่งเสริมการเข้าถึงบริการฯ แหล่งที่มา : ปี สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ปี 2560 จากระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2559 ประมวลผลเดือนมิถุนายน 2560 ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มลดลง ภาพเขต : ส่วนใหญ่มีแนวโน้มลดลง แต่ก็ยังไม่ผ่านเกณฑ์ มีเขต 1 เขตเดียวเท่ากันที่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ทั้ง 3 ปี (ข้อมูลปี 56-58) ส่วนผลการดำเนินงานปี 2560 จากระบบ HDC มีแนวโน้มลดลง มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค 1. จัดระบบการดูแลแม่วัยรุ่นเป็นกลุ่มเสี่ยง (ศอ.5) 2. ขับเคลื่อนภายใต้กลไก TO BE NUMBER ONE (ศอ.7)

12 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 1.4ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : แนวโน้มลดลง ภาพเขต : ส่วนใหญ่มีแนวโน้มลดลง แต่ก็ยังไม่ผ่านเกณฑ์ มี 3 เขต ที่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ทั้ง 3 ปี (ข้อมูลปี 56-58) ส่วนผลการดำเนินงานปี 2560 จากระบบ HDC มีแนวโน้มสูงขึ้น แหล่งที่มา : ปี สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ปี 2560 จากระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2559 ประมวลผลเดือนมิถุนายน 2560

13 การตั้งครรภซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10
มาตรการหลัก 1. ประสานงานกับภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด และอำเภอ 2. ร่วมกับ สปสช. สนับสนุนค่าบริการใส่ห่วงอนามัยและฝังยาคุมกำเนิดแก่วัยรุ่นหลังคลอดหรือแท้ง 3. ขับเคลื่อนและกำกับติดตาม พรบ. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฯ 4. สร้างการสื่อสารสาธารณะเพื่อให้วัยรุ่นเกิดความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ 5. พัฒนาความรู้ของบุคลากรสาธารณสุขในการให้บริการคุมกำเนิด และทักษะในการให้บริการคุมกำเนิดชนิดกึ่งถาวรสำหรับวัยรุ่น แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : ยังไม่ผ่านเกณฑ์ และแนวโน้มสูงขึ้น ภาพเขต : ยังไม่มีเขตใดผ่านเกณฑ์และส่วนใหญ่มีแนวโน้มการตั้งครรภ์ซ้ำเพิ่มสูงขึ้น

14 วัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีดัชนีมวลกาย ร้อยละ 54
มาตรการหลัก 1. ขับเคลื่อนร่วมกับภาคีเครือข่าย 2. พัฒนาตำบลบูรณาการการฯ ร่วมกับตำบล LTC 3. ประสานแหล่งเงินทุน เพื่อส่งเสริมส่งเสริมพฤติรรมประชากรวัย 4. พัฒนาโมเดลระบบเฝ้าระวังด้านพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงาน 5. สื่อสาธารณะวงกว้าง 6. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและเอกชน แหล่งที่มา : ระบบ HDC ตรวจสอบโดยสำนักโภชนาการ ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : ยังไม่ผ่านเกณฑ์ มีแนวโน้มขึ้นๆ ลงๆ ภาพเขต : มี 2 เขต คือ เขต 6, 7 ที่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ 3 ปีต่อเนื่อง มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค : สนับสนุนให้ชุมชนมีแผนงาน/โครงการในการดำเนินงานสร้างสุขภาพลดเสี่ยง -ลดโรคในชุมชน (ศอ. 12)

15 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50
มาตรการดำเนินงาน 1. ส่งเสริมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อการคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพ 2. ยี่ยมเสริมพลัง( Coaching ) โดยส่วนกลางลงสู่ศูนย์อนามัยเขต 3. ยี่ยมเสริมพลัง( Coaching ) โดยศูนย์อนามัยเขตลงสู่พื้นที่ระดับ แหล่งที่มา : การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ตรวจสอบโดยสำนักอนามัยผู้สูงอายุ หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2560 อยู่ระหว่างการดำเนินการสำรวจร่วมกับสำนักทันตสาธารณสุข ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : ไม่ผ่านเกณฑ์ ภาพเขต : เขต 5 มีผลการดำเนินงานที่ต่ำมาก และมี 4 เขตที่ผ่านเกณฑ์ คือ เขต 6, 7, 8, 12

16 ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
(Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 (เฉพาะตำบลนำร่อง) มาตรการเสริม ส่วนกลาง : คณะกรรมการดำเนินงานในระดับส่วนกลาง (คณะกรรมการ 7x7) ส่วนภูมิภาค : 1. คณะกรรมการดำเนินงานในระดับพื้นที่ (คณะกรรมการ 5x5) 2. กำหนดให้การดำเนิน LTC เป็น KPI ในการประเมิน CUP (ศอ. 7) แหล่งที่มา : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ ข้อสังเกต ภาพเขต : ปี 2559 เขต2 และ 11 มีผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย

17 ผู้สูงอายุ (60-74 ปี) มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบร้อยละ 43
มาตรการหลัก 1. พัฒนาระบบ กลไก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่าย เพื่อการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 3. พัฒนาเครือข่ายครอบครัว/ชุมชนในการดูแลช่องปากผู้สูงอายุ 4. พัฒนารูปแบบ/แนวทาง/เทคโนโลยี /นวัตกรรม การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในพื้นที่ต้นแบบ แหล่งที่มา : ปี การสำรวจสำนักทันตสาธารณสุข ปี 2560 ข้อมูลจากระบบ HDC หมายเหตุ : ปี เป็นข้อมูลผู้สูงอายุ (60-74 ปี) มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ ส่วนข้อมูลผู้สูงอายุ (60-74 ปี) มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบ เริ่มดำเนินการปี 2560 ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : ปี ภาพรวมมีแนวโน้มลดลง ภาพเขต : ส่วนใหญ่มีแนวโน้มลดลง และมี 4 เขตที่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ต่อเนื่อง 3 ปี (ปี 57-59) คือ เขต 1, 7, 8 และ 9

18 ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ในชุมชน จำนวน 1,000 ตำบล มาตรการหลัก 1. สร้างความเข้มแข็งของกลไกระดับจังหวัดผ่านคณะอนุกรรมการฯ จังหวัด 2. สร้างความตระหนักรู้เท่าทันข้อมูล และองค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม แก่ภาคีเครือข่ายและแกนนำชุมชน 3. สนับสนุนบทบาทและศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข, อปท. และแกนนำชุมชน 4. พัฒนาความร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ และสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่าย มาตรการเสริม ส่วนกลาง 1. ส่งเสริมการพัฒนาฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับชุมชน 2. ผลักดันให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Best practices แหล่งที่มา : สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : เป้าหมายยังไม่ครบ 1,000 แห่ง ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 23.6 ของเป้าหมาย (1,000 แห่ง) ภาพเขต : เขต 4, 11, 12 ยังไม่มีจำนวนเป้าหมาย ภาพรวมการดำเนินงานส่วนใหญ่ยังไม่ถึงร้อยละ 50 ของเป้าหมาย มีเพียงเขต 4 เขตเดียวที่ผ่านเกณฑ์

19 จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมจำนวน 10 จังหวัดในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ มาตรการหลัก 1. การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. การพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 4. การพัฒนาชุดความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม แหล่งที่มา : กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : มีการดำเนินงานครบ 10 จังหวัดตามเป้าหมาย ภาพเขต : ดำเนินงานครบตามเป้าหมายทุกจังหวัด

20 รพ.ที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ร้อยละ 75
มาตรการหลัก 1. ส่งเสริมให้เกิดกลไกการบริหารจัดการเชิงนโยบายที่เข้มแข็ง 2. เสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญ สนับสุนนองค์ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 3. สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการการใช้ทรัพยากรในการขับเคลื่อนงาน 4. สร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย และผลักดันให้เกิดกระบวนการ KM ผ่าน Best Practices 5. สนับสนุนมาตรการทางกฎหมาย แหล่งที่มา : สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อสังเกต ภาพรวมประเทศ : รพ.มีแผนพัฒนา C&G สูงกว่าเป้าหมาย คือ ร้อยละ 88.7 แต่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50.6 ภาพเขต : มี 2 เขต ได้แก่ เขต 7 และ 11 มีแผนการพัฒนา C&G น้อยกว่าเป้าหมาย ส่วนผลการดำเนินงาน มีเขต 4 เพียงเขตเดียวที่ผ่านเกณฑ์ ส่วนเขต 11 มีผลการดำเนินงานที่ต่ำมาก มาตรการเสริม ส่วนภูมิภาค 1. กำหนดให้ GREEN&CLEAN Hospital เป็น KPI ผู้บริหารโรงพยาบาล (ศอ. 4) 2. จัดศึกษาดูงานสถานบริการลดโลกร้อน (ศอ. 7)

21 จำนวนงานวิจัย ผลงานวิชาการ และนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ อย่างน้อย 4 เรื่อง
ภาคีเครือข่ายภาครับที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 50 ความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ ร้อยละ 75 มาตรการหลัก จัดทำเครื่องมือการประเมิน Product Champion แล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการทดลองเครื่องมือ 1. จัดทำโปรแกรมเพื่อการสำรวจความพึงพอใจ 2. วิเคราะห์ ออกแบบ การสำรวจ และประเมินผลผลิตภัณฑ์กรมอนามัย 3. สำรวจความพึงพอใจและคุณภาพของ 10 Product Champion 4. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจและคุณภาพของ 10 Product Champion แหล่งที่มา : กองแผนงาน จำนวนงานวิจัย ผลงานวิชาการ และนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ อย่างน้อย 4 เรื่อง มาตรการหลัก จำนวน 3 เรื่อง 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับ ประเทศ และระดับพื้นที่เพื่อผลักดันงานวิจัย 2. ประสานกับแหล่งเงินทุนที่สนับสนุนทั้งในและต่างประเทศ 3. กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานวิจัย 4. ขี้แจง แนะนำ ให้คำปรึกษา แก้ไขปัญหา และเสริมสร้างบรรยากาศของการดำเนินงานวิจัย 5. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยให้มีความชำนาญและเชี่ยวชาญมากขึ้น แหล่งที่มา : สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒ

22 การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2 หมวด (หมวด 2,4)
มาตรการหลัก ปี 2559 : - ผ่านการประเมินหมวด 1 การนำองค์กร ปี 2560 : - ผ่านการประเมินรอบ 1 จำนวน 2 หมวด (หมวด 2 และหมวด 4) 1. จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน กับทุกหน่วยงาน 2. สร้างความร่วมมือกับองค์การที่มีผลงานเป็นเลิศ 3. เร่งรัด ติดตาม และกำกับ ผ่าน คกก.พัฒนาระบบราชการ และผ่านระบบการนิเทศงานกรมอนามัย 4. รายงานและสรุปบทเรียน Small Success ผ่านระบบ DOC 5. สื่อสารแนวทางการพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สร้าง CoP ระหว่างทีมแกนนำ 7. เยี่ยมเสริมพลังเพื่อการค้นหาหน่วยงานที่มีผลงานน่าชื่นชม 8. สร้างระบบพี่เลี้ยง ในการเป็นทีมที่ปรึกษา แหล่งที่มา : กลุ่มพัฒนาระบบบริการ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBIT) ระดับ 5 (ร้อยละ 90) มาตรการหลัก 1. ตั้งคณะทำงานระดับหน่วยงาน 2. สร้างความรู้ความเข้าใจเกณฑ์การประเมินฯ 3. ประกาศนโยบายความโปร่งใส การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกันการทุจริต 4. หน่วยงานประเมินตนเองตามแนวทางการประเมิน 5. หน่วยงานสำรวจการการภายใน (Internal Survey) แหล่งที่มา : กองการเจ้าหน้าที่ หมายเหตุ : ปี 2560 ประเมวลผลเมื่อสิ้นปี

23 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google