History TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศิลปะอินเดีย.
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
จัดทำโดย ด. ช. กรธวัช นนทนาคร ม.1/4 เลขที่ 1 ด. ช. ไชยภัทร ธรรมเพียร ม.1/4 เลขที่ 4 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ Next.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
อารยธรรมกรีกโบราณ Bilde: Akropolis.
ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดีย Indian Civilization
Scene Design and Lighting Week1-3
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
แผนที่กรีกโบราณ. แผนที่กรีกโบราณ ไอโอเนียน เอเคียน และดอเรียน จึงได้อพยพเข้าไปอยู่ในแหลมกรีก ตามลำดับ ชาวกรีกเป็นพวกอินโด – ยูโรเปียน ซึ่งมีหลักแหล่งดั้งเดิมอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ศาสนาเชน Jainism.
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
ระบบวรรณะ Caste System ( Varna )
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

History TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP SOUTH ASIA History TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

HISTORY

อารยธรรมสินธุ-คงคา(Indus-Ganges Civilization) หรือ อารยธรรมอินเดีย(Indian Civilization)

การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียสมัยย่อย ๆ 1 การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียสมัยย่อย ๆ 1.  สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (ประมาณ 2,500-1,500 ปี ก่อน ค.ศ.) 2.  สมัยพระเวท (ประมาณ 1,500-600 ปีก่อน ค.ศ.)   3. สมัยพุทธกาล หรือ สมัยก่อนเมารยะ(Maurya) ประมาณ 600-300 ปีก่อน ค.ศ.)  4.  สมัยเมารยะ(Maurya) (ประมาณ 321-184 ปี ก่อน ค.ศ.) 5.  สมัยกุษาณะ(ประมาณ 200 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 320)  6.  สมัยคุปตะ(Gupta) (ประมาณ ค.ศ. 320-550)  7.  สมัยหลังคุปตะ หรือ ยุคกลางของอินเดีย (ค.ศ. 550 – 1206) 8.  สมัยสุลต่านแห่งเดลฮี หรือ อาณาจักรเดลฮี (สมัยปลายยุคกลาง) (ค.ศ. 1206-1526) 9.  สมัยโมกุล(Mughul) (ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858) 10. ยุคอาณานิคม (ประมาณ ค.ศ. 1858 – 1947) 11. ยุคได้เอกราช  (ค.ศ. 1947 – ปัจจุบัน) สมัยก่อนปวศ. สมัยโบราณ สมัยประวัติศาสตร์ สมัยกลาง สมัยใหม่

แหล่งอารยธรรมอินเดีย แบ่งออกเป็น 2 ช่วง 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่งในบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุ คือ 1.1 เมืองโมเฮนโจ – ดาโร ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถานในปัจจุบัน 1.2 เมืองฮารับปา ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน 2. สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มเมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ โดยชนเผ่าอินโด-อารยัน ซึ่งตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่น้ำคงคา แบ่งได้ 3 ยุค 2.1 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่กำเนิดตัวอักษรยุคแรกใช้ในอินเดียจนถึงสิ้นสุดสมัยราชวงศ์ คุปตะ เป็นยุคที่ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เชน และพุทธ ได้ถือกำเนิดแล้ว 2.2 ประวัติศาสตร์สมัยกลาง เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์คุปตะสิ้นสุดลง จนถึง ราชวงศ์โมกุลเข้าปกครองอินเดีย 2.3 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์โมกุลจนถึงการได้รับเอกราชจากอังกฤษ

ชนกลุ่มสำคัญที่สร้างสรรค์อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ-คงคา(Indus-Ganges Civilization) หรือ อารยธรรมอินเดีย แบ่งได้เป็น 2 พวก คือ 1) พวกดราวิเดียน(Dravidian) หรือ ทราวิฑ คือชนพื้นเมืองดั้งเดิมที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณลุ่มน้ำสินธุราว 4,000 ปีมาแล้ว พวกนี้มีรูปร่างเตี้ย ผิวคล้ำและจมูกแบน คล้ายกับคนทางตอนใต้ในอินเดียบางพวกปัจจุบัน 2) พวกอารยัน(Aryan) หรือ อินโด-อารยัน(Indo-Aryan) เป็นพวกที่อพยพเคลื่อนย้ายจากดินแดนเอเชียกลาง (ทางตะวันตกของเอเชียใต้)ลงมายังตอนใต้กระจายไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ต่างๆซึ่งอุดมสมบูรณ์และมีภูมิอากาศที่อบอุ่นกว่า พวกอารยันส่วนหนึ่งได้เคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มน้ำสินธุและขับไล่พวกดราวิเดียนให้ถอยร่นไปทางตอนใต้หรือจับตัวเป็นทาส พวกอารยันมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว จมูกโด่ง (ชาวอินเดียที่อยู่ทางตอนเหนือปัจจุบันนี้) พวกอารยันเหล่านี้รับวัฒนธรรมชนพื้นเมืองของชาวดารวิเดียน แล้วนำมาผสมผสานเป็นวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและสร้างอารยธรรมของตนมาในยุคต่อมา

อารยธรรมสินธุ-คงคา (Indus-Ganges Civilization) สมัยก่อนประวัติศาสตร์

แหล่งอาระธรรมโบราณก่อน ยุคประวัติศาสตร์ ฮารัปปา (Harappa) โมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) แหล่งอาระธรรมโบราณก่อน ยุคประวัติศาสตร์ - แหล่งอาระธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียใต้ - แหล่งอาระยธรรมลุ่มน้ำสินธุ - มีความเจริญด้านการวางผังเมือง - แหล่งอาระธรรมก่อนการเข้ามาของชาวอาระยันในเอเชียใต้

แหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่ของโลกที่สำคัญ

แหล่งอารยธรรมเริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย (ปากีสถานในปัจจุบัน) ที่แม่น้ำสินธุไหลผ่าน นักประวัติศาสตร์บางคนเรียกอารยธรรมในดินแดนนี้ว่า วัฒนธรรมฮารัปปา (Harappa Culture) และโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro Culture) ซึ่งเป็นชื่อเมืองโบราณที่ตั้งอยู่บริเวณลุ่มน้ำสินธุเมื่อประมาณ 3,500 – 1,000 ปี ก่อนพุทธศักราช

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่งในบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุ อายุประมาณ 3,000-2,500 ปีก่อนคริสตกาล จัดเป็นแหล่งอารยธรรมเมืองแห่งหนึ่งของโลกยุคโบราณ หลักฐานทางโบราณคดีพบว่ามีเมืองใหญ่ 2 เมือง คือ เมืองฮารัปปา (Harappa) และเมืองโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) หลักฐานดังกล่าวทำให้ทราบว่าบริเวณลุ่มน้ำสินธุมีผู้คนตั้งถิ่นฐานและสร้างสรรค์อารยธรรมมายาวนานของพวกดราวิเดียน

สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

แหล่งโบราณคดีเมือง ฮารัปปา (Harappa)

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองฮารัปปา (Harappa) สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองฮารัปปา (Harappa) สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองฮารัปปา (Harappa) สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองฮารัปปา (Harappa) สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองฮารัปปา (Harappa)

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองฮารัปปา (Harappa) สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

แหล่งโบราณคดี เมืองโมเฮนโจ–ดาโร(Mohenjo – Daro)

หลักฐานทางโบราณคดีเมือง เมืองโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) สิ่งที่เด่นที่สุดของอารยธรรมแม่น้ำสินธุ ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เช่น เขตที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน ยุ้งฉาง มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมืองโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ แยกพื้นที่ใช้กันงานออกจากกันอย่างชัดเจน มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมือง เมืองโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมือง เมืองโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

หลักฐานทางโบราณคดีเมือง เมืองโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) ตัวเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระเบียบ มีการตัดถนนเป็นมุมฉากและแบ่งเมืองออกเป็นตาราง แสดงความรู้ด้านเรขาคณิตขั้นสูงสิ่งที่โดดเด่นกว่าอารยธรรมอื่นๆ

ปลายศตวรรษที่ 15 การเข้ามาของชาติตะวันตกชาวยุโรป

ยุคศตวรรษที่ 15 การเข้ามายังทวีปเอเชียของชาติตะวันตกชาวยุโรปผ่านเส้นทางการเดินเรือทางทะเล ที่นำโดยโปรตุเกส(ชาติแรก) ในปลายศตวรรษที่ 15 ตามมาด้วย สเปน เนเธอร์แลนด์(ฮอลันดา) อังกฤษ ฝรั่งเศส

วาสโก ดา กามา(Vasco da Gama) นักเดินเรือของโปรตุเกส เป็นนักเดินเรือคนแรกของยุโรปที่สามารถหาเส้นทางเดินเรือจากยุโรปมายังเอเชีย โดยเดินเรือมายังเอเชียบริเวณแรก คือ บริเวณชายฝั่งมาลาบาร์(Malabar coast) ของอินเดียในปี ค.ศ. 1498 โดยแล่นเรือจากเมืองลิสบอน ของโปรตุเกสไปถึงชายฝั่งมาลาบาร์ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย โดยแล่นเรืออ้อมผ่านแหลมกู๊ดโฮป(Cape Good Hope) ของทวีปแอฟริกา

สมัยตะวันตกเข้าสู่อินเดีย  อิทธิพลของโปตุเกสในอินเดีย โปตุเกสเข้ามาอินเดียสมัยราชวงศ์โมกุล มาทำการค้าจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 18 และค่อยๆ หมดบทบาทไป และ อังกฤษเข้ามามีอิทธิพลแทนที่ในอินเดีย ตั้งแต่ วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama) เป็นผู้ค้นพบเส้นทางเดินเรือมายังอินเดีย โดยอ้อมมาทางใต้ของทวีปแอฟริกา เมื่อมาถึงทะเลอาระเบีย ได้กัปตันเรือชาว อาหรับนำมาถึงอินเดีย เขามาถึงเมืองกาลิกัต(Calicut) ทางฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1498 และได้รับการต้อนรับจากพระราชาอินเดียอย่างดี เขาเขียนจดหมายทูลกษัตริย์โปรตุเกสให้มาทำการค้าเครื่องเทศและหินมีค่า โลหะมีค่า เช่น ทอง เงิน

โปรตุเกสนำการเปลี่ยนแปลงอะไรมาสู่อินเดีย ดังนี้ - การต่อเรือขนาดใหญ่สมัยใหม่แบบตะวันตกตลอดจนวิธีการเดินเรือและการใช้แผนที่เดินเรือ - การเก็บภาษีผ่านทางให้แก่โปรตุเกส - การให้ความคุ้มกันแก่พ่อค้าจากโจรสลัด - การปฏิวัติทางการค้าเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยพวกโปรตุเกส คือ มีเรือค้าขายจาก จีน ญี่ปุ่น มะละกา ถึงกัว(Goa)และจากกัวไปลิสบอน(เมืองหลวงของโปรตุเกส) จาก ลิสบอนสินค้าถูกส่งไปขายต่อยัง เมือง Cadiz(เมืองในประเทศสเปน), เมือง Antwerp(เมืองในประเทศเบลเยี่ยม) และ บราซิล(อาณานิคมของโปรตุเกส) - โปรตุเกสผูกขาดการค้ากับอินเดียแต่เพียงผู้เดียว - มีการปลูก ขิง พริกไทย มะพร้าว และเครื่องเทศอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น เพื่อส่งไปยุโรป แคว้นกุจราช(Gujarat) มัทราส(Madras) และ เบงกอล(Bengal) เป็นแหล่งปลูกฝ้ายใหญ่ เพื่อส่งขายยังยุโรป และแอฟริกา - เงินและทองไหลเข้าสู่อินเดียจากการขยายตัวของการค้าที่มีมากขึ้น - ภาษาโปรตุเกสกลายเป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่อค้าขายตามท่าเรือของเอเซียในช่วงเวลานั้น

โปรตุเกสนำการเปลี่ยนแปลงอะไรมาสู่อินเดีย ดังนี้ - เมืองกัว(Goa) เมืองสถานีการค้าของโปรตุเกสในอินเดีย ได้กลายเป็น Golden Lisbon of the East เป็นเมืองที่มีสถาปัตยกรรมแบบโปรตุเกสมากแห่งหนึ่งในระหว่าง ค.ศ.1540-1600 - โปรตุเกสนำศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกเข้ามาอินเดีย - โปรตุเกสนำความรู้และความคิดทางตะวันตกมาสู่อินเดีย - มีการตั้งโรงเรียนสอนศาสนา โรงพยาบาล สร้างถนนสมัยใหม่ - เกิดโรงเรียนสอนดนตรีและมหาวิทยาลัย - โปรตุเกสฝึกศิลปิน นักดนตรีและอาจารย์ เพื่อส่งกลับมาสอนที่อินเดีย คนอินเดียรู้จักดนตรีตะวันตก (ส่วนใหญ่มักเป็นเพลงทางศาสนา) - ภาษาโปรตุเกสเข้ามาผสมในไวยากรณ์และพจนานุกรมอินเดีย - การพิมพ์ หนังสือเล่มแรกเป็นภาษาเบงกาลี แต่ใช้ตัวอักษรโรมัน เป็นหนังสือไวยากรณ์ Manuel da Assumpcao พิมพ์ที่ เมืองลิสบอน ในโปรตุเกส เมื่อ ค.ศ.1743

โปรตุเกสนำการเปลี่ยนแปลงอะไรมาสู่อินเดีย ดังนี้ - คนอินเดียรู้จักสูบบุหรี่ มีการนำบุหรี่เข้ามาอินเดียเมื่อ ค.ศ.1508 (ปัจจุบันอินเดียสูบบุหรี่มากที่สุดในโลก) - มีการนำพันธุ์พืชหลายอย่างจากโลกตะวันตกมายังอินเดีย เช่น มะเขือเทศ มะละกอ สับปะรด มันฝรั่ง ข้าวโพด และ พริก จากทวีปอเมริกา ถั่ว สาคู จากแอฟริกาและบราซิล เข้ามาปลูกในอินเดีย

การขยายอิทธิพลของอังกฤษ สู่อินเดีย

อิทธิพลของอังกฤษในอินเดีย - ในยุโรป อังกฤษชนะสงครามสเปน และอังกฤษสนใจการค้ากับเอเชีย(โลกตะวันออก) เพราะคนอังกฤษนิยมเครื่องเทศมาก - ค.ศ. 1580 สเปนครองโปรตุเกส(โปรตุเกสตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสเปนในดินแดนยุโรป) ทำให้โปรตุเกสเริ่มหมดบทบาททางการค้าลงมากและเสื่อมอำนาจลง พ่อค้าในเอเชียจึงส่งเครื่องเทศให้ฮอลแลนด์แทนโปรตุเกส(อิทธิพลของโปรตุเกสเริ่มลดน้อยลง) - ตั้งแต่มีการค้นพบเส้นทางทะลไปเอเชีย(โลกตะวันออก) โดย วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama) (นักเดินเรือให้กับโปรตุเกส) ทำให้โปรตุเกสแย่งการค้าเครื่องเทศจากชาวมุสลิมอาหรับในตะวันออกกลาง ซึ่งตอนนั้นเป็นผู้ผูกขาดการค้าเครื่องเทศแต่ผู้เดียว ฮอลแลนด์(เนเธอร์แลนด์)ก็สั่งเครื่องเทศจากลิสบอน(เมืองหลวงของโปรตุเกส)ไปขายยังยุโรป ทำให้ราคาเครื่องเทศสูงขึ้นมาก ในยุโรป อันเนื่องจากความต้องการสูงและมีการค้ากันเพื่อเอากำไร

อิทธิพลของอังกฤษในอินเดีย - หลังจากนั้นฮอลแลนด์(เนเธอร์แลนด์)เดินเรือเดินทางมายังเอเชียได้และหาแหล่งเครื่องเทศทางตะวันออกได้ด้วยตนเอง การผูกขาดการค้าเครื่องเทศของโปรตุเกสและสเปนจึงไม่มีอีกต่อไป  ทำให้การค้าเครื่องเทศของฮอลแลนด์ประสบผลสำเร็จมาก

อิทธิพลของอังกฤษ - การประสบความสำเร็จของฮอลแลนด์ ทำให้อังกฤษพยายามเข้ามามีบทบาททางการค้าในอินเดียและเอเชียมากขึ้น ภายใต้บริษัท บริษัทอีสต์อินเดีย(East India Company) ของอังกฤษ และได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์อังกฤษ - อังกฤษขยายสถานีการค้าและขยายบทบาททางการทหาร และการเดินเรือมากขึ้น และประสบความสำเร็จอย่างมาก และพยายามกีดกันบทบาทของฮอลแลนด์ให้ลดลง  การแย่งกันมีบทบาททางการค้าทำให้อังกฤษกับฮอลแลนด์ไม่ลงรอยกันเพราะเรื่องแย่งแหล่งค้าเครื่องเทศ  - ในช่วงหลังอังกฤษมุ่งสนใจต่ออินเดียมากกว่า และ ปล่อยให้ฮอลแลนด์ไปมีบทบาทในหมู่เกาะอินโดนีเซียแทน และพยายามกีดกันทั้งชาติตะวันตกอื่นออกจากการค้ากับอินเดีย - ในช่วงที่อินเดียทำการค้ากับชาติตะวันตกนี้ทำให้เมืองท่าทางทะเล เป็นศูนย์กลางการติดต่อการค้าที่สำคัญขึ้นมา เช่น เมือบอมเบย์(Bombay)(ปัจจุบันคือ มุมไบ) , เมืองมัทราส(Madras)(ปัจจุบันคือ เชนไน) , เมืองกัลกัตตา(Culcutta)(ปัจจุบันคือ โกลกาต้า) และ กัว(Goa) เป็นต้น

อิทธิพลของอังกฤษ - ความแตกต่างทางศาสนาการปฏิบัติระหว่างผู้ปกครองที่เป็นมุสลิม กับประชากรส่วนใหญ่ที่เป็นฮินดู และความต้องการที่จะเข้าไปมีบทบาททางเศรษฐกิจของอังกฤษในอินเดีย การผูกขาดทางการค้าของผู้ปกครองอินเดียสมัยนั้นและการเมืองของอินเดียสมัยราชวงศ์โมกุล ในที่สุดอังกฤษก็ประสบผลสำเร็จในการเข้ายึดครองอินเดียในปลายสมัยราชวงศ์โมกุล ใน ศตวรรษที่ 19 จนอินเดียตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในที่สุด

ปลายศตวรรษที่ 19-สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุคตกเป็นเมืองของอังกฤษ

เอเชียใต้ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ England England England ยุคศตวรรษที่ 19 เอเชียใต้ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ England

อิทธิพลของอังกฤษ - พระราชินีวิคตอเรียทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดินีของอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อค.ศ. 1877 - อังกฤษสร้างรัฐกันชนขึ้นมาป้องกันรัสเซีย คือ เนปาล ภูถาน สิขิม - สร้างทางรถไฟ เชื่อมเมืองเพื่อประโยชน์ในด้านการค้าการลำเลียงสินค้าระหว่างเมืองท่าและเมืองทางตอนในประเทศ สร้างเขื่อน นำเข้าสินค้าจากอังกฤษที่ผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรมในอังกฤษ ทำให้อาชีพทอผ้า ตามชนบทต้องกระทบกระเทือน - สนับสนุนการปลูกปอ (เบงกอล) ชา (ทางใต้) ทำให้อุตสาหกรรมของอินเดียเจริญมาก - ตั้งโรงเรียนชั้นสูงแบบอังกฤษ  สนับสนุนให้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร บังคับให้คนอินเดียใช้ภาษาอังกฤษไม่ให้ความสำคัญกับภาษาพื้นเมือง  - ควบคุมผูกขาดการค้าสินค้าหลาย ๆ อย่าง เช่น ฝิ่น คราม ปอ ชา  เป็นต้น

ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อินเดียได้เอกราชจากอังกฤษ

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง England England England หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง มีการเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ โดยมีบุคคลสำคัญในการเรียกร้องเอกราช คือ มหาตามะคานธี(Mahatma Gandhi) ด้วยวิธีสันติอหิงสา จนได้เอกราชในเวลาต่อมา England

Pakistan (West) India Pakistan (East) ปี ค.ศ. 1947 มีปัญหาความคัดแย้งทางศาสนาอย่างรุ่นแรงระหว่างกลุ่มคนที่นับถือศาสนาฮินดู กับ กลุ่มคนที่นับถือศาสนาอิสลามจนนำมาสู่การแยกประเทศของกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลาม ตัวออกจากอินเดียโดยแยกออกมาเป็น ประเทศ ปากีสถาน

ปี ค.ศ. 1971 ปากีสถานตะวันออกไม่พอใจต่อการที่ถูกเอาเปรียบจากปากีสถานตะวันตก จนเกิดการแยกประเทศมาเป็นประเทศ บังคลาเทศ(Bangladesh) ในปัจจุบัน Pakistan (West) Pakistan India Pakistan (East) Bangladesh

ก่อน ค.ศ. 1947 Burma ค.ศ. 1947 ค.ศ. 1971 หลัง ค.ศ. 1971

สรุปประวัติศาสตร์ในเอเชียใต้ ในยุคต่างๆ

อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ สมัยพระเวท สมัยพุทธกาล สมัยราชวงศ์เมารยะ สมัยราชวงศ์กุษาณะ สมัยราชวงศ์คุปตะ สมัยจักรวรรดิโมกุล สมัยอาณานิคมอังกฤษ สมัยเอกราช - เป็นอารยธรรมของชนพื้นเมือง คือ ชาวดราวิเดียน (ชนพื้นเมืองดั้งเดิม) - ศูนย์กลางอยู่ที่เมือง โมเฮนโจดาโร(Mohenodaro)และเมืองฮารับปา(Harappa)(แหล่งโบราณคดีที่ขุดค้นพบ) - เป็นอารยธรรมชนเผ่าอารยัน ที่เข้ายึดชาวครองดราวิเดียนหรือชาวทราวิฑที่ถูกขับไล่ให้ถอยร่นลงทางใต้ - ชาวอารยันให้กำเนิดศาสนาพราหมณ์ และ ระบบวรรณะ (Caste System) - วรรณกรรมสำคัญในยุคนี้ ได้แก่ - คัมภีร์พระเวท เป็นบทสวดของพวกพราหมณ์ ใช้วิธีท่องจำต่อๆกันมา ประกอบด้วย 4 คัมภีร์คือ ฤคเวท ยชุรเวท ไตรเวท และ อาถรรพเวท - มหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าแสดงถึงการต่อสู้ระหว่างชาวอารยัน(พระราม) กับชาวทราวิฑ หรือชาวดารวิเดียน (ทศกัณฑ์) แต่งโดยฤษีวาลมิกิ - มหากาพย์มหาภารตยุทธ ว่าด้วยการต่อสู้ของพี่น้องสองตระกูล (ปานฑพ-เการพ) - คัมภีร์ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นทั้งกฎหมาย ศาสนบัญญัติ จารีตประเพณี หลักศีลธรรม - เกิดศาสนาพุทธ และ มีการใช้ภาษาบาลี (มคธ) - เกิดศาสนาเชน(Jainism) ผู้ก่อตั้งคือ มหาวีระ - กษัตริย์จันทรคุปต์ ได้รวบรวมแว่นแคว้นในดินแดนชมพูทวีปให้เป็นปึกแผ่นเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่มีอาณาเขตกว้างขวางได้ครั้งแรก ในชมพูทวีป - เริ่มการปกครองโดยรวบอำนาจไว้ที่กษัตริย์และเมืองหลวง - สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนาในแว่นแคว้นต่างๆ - หลังราชวงศ์เมารยะล่มสลาย เกิดการแตกแยกเป็นแว่นแคว้น - พวกกุษาณะเป็นชนต่างชาติที่เข้ามารุกราน และตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ - ด้านการแพทย์เจริญมากในสมัยกษัตริย์กนิษกะ - ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนานิกายมหายานที่จีนและทิเบต - กษัตริย์จันทรคุปต์ที่ 1 ทรงรวบรวมอินเดียให้เป็นจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่ง - เป็นยุคทองของอินเดียทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม การเมือง ปรัชญา ศาสนา

อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ สมัยพระเวท สมัยพุทธกาล สมัยราชวงศ์เมารยะ สมัยราชวงศ์กุษาณะ สมัยราชวงศ์คุปตะ สมัยจักรวรรดิโมกุล สมัยอาณานิคมอังกฤษ สมัยเอกราช - กษัตริย์บาบูร์ ผู้ก่อตั้งราชวงศ์โมกุล นับถือศาสนาอิสลาม - เป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดีย - กษัตริย์อักบาร์มหาราช ทรงทะนุบำรุงอินเดียให้มีความเจริญรุ่งเรืองทุกด้าน และทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา สร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นในชาติ - กษัตริย์ซาร์ เจฮัน ทรงเป็นมุสลิมที่เคร่งครัดและศรัทธาในศาสนาอิสลาม เป็นผู้สร้าง สุสานทัชมาฮาล ที่งดงาม - ปลายสมัยอาณาจักรโมกุล กษัตริย์ทรงใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ต้องเพิ่มภาษีและเพิ่มการเกณฑ์แรงงานทำให้ราษฎรอดอยาก และยังกดขี่ทำลายล้างศาสนาฮินดูและชาวฮินดูอย่างรุนแรง - เกิดความแตกแยกภายในชาติ เป็นเหตุให้อังกฤษค่อยๆเข้าแทรกแซงและครอบครองอินเดียทีละเล็กละน้อย - ในที่สุดอังกฤษล้มราชวงศ์โมกุลและครอบครองอินเดียในฐานะอาณานิคมอังกฤษ - สิ่งที่อังกฤษวางไว้ให้กับอินเดียคือ - รากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา - การศาล การศึกษา - ยกเลิกประเพณีบางอย่าง เช่น พิธีสตี (การเผาตัวตายของหญิงฮินดูหลังจากที่สามีตาย) - หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ขบวนการชาตินิยมอินเดียนำโดย มหาตมะ คานธี (Mahatma Gandhi) และ ยาวาหะราล เนห์รู (Jawaharlal Nehru) เป็นผู้นำเรียกร้องเอกราช - มหาตมะ คานธี ใช้หลักอหิงสา (ความไม่เบียดเบียน ความสงบ) ในการเรียกร้องเอกราชจนประสบความสำเร็จ - หลังจากได้รับเอกราชอินเดียปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย - แต่จากความแตกแยกทางเชื้อชาติและศาสนาทำให้อินเดียต้องแตกแยกเป็นอีก 2 ประเทศคือ ปากีสถาน(เดิมคือปากีสถานตะวันตก)และบังคลาเทศ (ปากีสถานตะวันออก)

มรดกของอารยธรรมอินเดีย

การปกครองและกฎหมาย เดิมบ้านเมืองในลุ่มน้ำสินธุมีร่องรอยของการปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ตัวเมืองมักสร้างอยู่ในป้อมซึ่งต้องมีผู้นำที่มีอำนาจแบบรวมศูนย์ ผู้นำมีสถานภาพเป็นทั้งกษัตริย์และเป็นนักบวชจึงมีอำนาจทั้งทางโลกและทางธรรม ต่อมาเมื่อชาวอารยัน(Aryan)เข้ามาปกครองดินแดนลุ่มน้ำสินธุแทนชาวดราวิเดียน(Dravidian) จึงได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบกระจายอำนาจ โดยแต่ละเผ่ามีหัวหน้าที่เรียกว่า “ราชา”(Raja) ปกครองกันเอง มีหน่วยการปกครองลดหลั่นลงไปตามลำดับ จากครอบครัวที่มีบิดาเป็นหัวหน้าครอบครัว หลายครอบครัวรวมเป็นระดับหมู่บ้าน และหลายหมู่บ้านมีราชาเป็นหัวหน้า ต่อมาแต่ละเผ่ามีการพุ่งรบกันเอง    ในด้านการปกครองมีการเขียนตำราเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ชื่อ อรรถศาสตร์ ระบุหน้าที่ของกษัตริย์ ในด้านกฎหมาย มีพระธรรมศาสตร์และต่อมามีการเขียนพระธรรมนูญธรรมศาสตร์ขึ้น

ด้านสังคมและวัฒนธรรม   ในลุ่มน้ำสินธุ กลุ่มชนที่อาศัยในระยะแรก คือ พวกดราวิเดียนซึ่งมีโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยผู้ปกครอง ได้แก่ ราชาและขุนนาง แต่เมื่อพวกอารยันเข้ามาปกครองทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กล่าวคือ ฝ่ายดราวิเดียนถูกลดฐานะลงเป็นทาส ความสัมพันธ์ของคนในสังคมระยะแรกมีการแต่งงานระหว่างชนสองเผ่าพันธุ์ แต่ต่อมาพวกอารยันเกรงว่าจะถูกกลืนทางเชื้อชาติ จึงห้ามการแต่งงานระหว่างชนสองกลุ่ม ทำให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างเผ่าพันธุ์ จนกลายเป็นระบบชนชั้นที่แบ่งหน้าที่ชัดเจนโดยแบ่งออกเป็น 4 วรรณะใหญ่ๆ คือ วรรณะพราหมณ์(Brahmins) ผู้ประกอบพิธีกรรมและสืบสานต่อศาสนา วรรณะกษัตริย์(Kshatriyas) มีหน้าที่ปกป้องแว่นแคว้น วรรณะแพศย์(Vaisyas) มีหน้าที่ผลิตอาหารและหารายได้ให้แก่บ้านเมือง และวรรณะศูทร(Sudras) คือคนพื้นเมืองดั้งเดิมที่มีหน้าที่รับใช้วรรณะทั้งสาม ส่วนลูกที่เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะถูกจัดให้อยู่นอกสังคม เรียกว่า พวกจัณฑาล(Harijans (Untouchable)) 

ด้านศาสนา อินเดียเป็นแหล่งกำเนิดศาสนาสำคัญของโลกตะวันออก ได้แก่ 1 ด้านศาสนา อินเดียเป็นแหล่งกำเนิดศาสนาสำคัญของโลกตะวันออก ได้แก่ 1. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู(Brahmanism-Hinduism) มีเทพเจ้าที่สำคัญ เช่น พระศิวะ เป็นเทพผู้ทำลายความชั่วร้าย พระพรหม เป็นเทพเจ้าผู้สร้างสรรพสิ่งบนโลก พระวิษณุ เป็นเทพเจ้าแห่งสันติสุขและปราบปรามความยุ่งยาก (เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียใต้) 2. ศาสนาพุทธ(Buddhism) มีหลักคำสอนที่สำคัญ เช่น อริยสัจ 4 มีจุดหมายเพื่อมุ่งสู่นิพพาน 3. ศาสนาเชน(Jainism) มีศาสดา คือ มหาวีระ เน้นหลักธรรมความไม่เบียดเบียน 4. ศาสนาสิกข์(Sikhism) เป็นศาสนาที่ก่อตั้งขึ้นมาโดย พระศาสดา ศรี คุรุ นานัก เดว ยิ ในปี พ.ศ. 2012 (ค.ศ. 1469) โดยหลักธรรมและคำสอนพื้นฐานตั้งอยู่บนรากฐานแห่งความจริงและเน้นความเรียบง่าย สอนให้ทุกคนยึดมั่นและศรัทธาในพระเจ้าแต่เพียงพระองค์เดียว

ด้านภาษาและวรรณกรรม พวกอารยันใช้ภาษาสันสกฤต(Sanskrit)ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์ศาสนาของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ คัมภีร์พระเวท เมื่อประมาณ 1,000 ปีมาแล้ว วรรณกรรมที่สำคัญได้แก่ มหากาพย์มหาภารตะซึ่งเป็นเรื่องการสู้รบในหมู่พวกอารยันและมหากาพย์รามเกียรติ์(รามยณะ) (Ramayana) เป็นเรื่องการสู้รบระหว่างชาวดราวิเดียนกับชาวอารยัน

ด้านสถาปัตยกรรม – ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจ – ดาโร ทำให้เห็นว่ามีการวางผังเมืองอย่างดี มีสาธารณูปโภคอำนวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น ถนน บ่อน้ำ ประปา ซึ่งเน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความสวยงาม – ซากพระราชวังที่เมืองปาฏลีบุตร(ปัจจุบัน คือ เมืองปัฏนา(Patna))และเมืองตักศิลา สถูปและเสาแปดเหลี่ยม ที่สำคัญ คือ สถูปเมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์โมริยะ) – สุสานทัชมาฮาล(Taj Mahal) สร้างด้วยหินอ่อน เป็นการผสมระหว่างศิลปะอินเดียและเปอร์เชีย ด้านประติมากรรม - พระพุทธรูปแบบต่าง ๆ เช่น พระพุทธรูปแบบคันธาระ(อิทธิพลจากกรีก) จิตรกรรม สมัยคุปตะและหลังสมัยคุปตะ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของอินเดียพบงานจิตรกรรมที่ ผนังถ้ำอชันตะ(Ajanta) เป็น ภาพเขียนในพระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้นและการอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทำให้ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้ความรู้สึกสมจริง นาฏศิลป์ เกี่ยวกับการฟ้อนรำ เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้าตามคัมภีร์พระเวท ของศาสนาฮินดู