13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Decision Support Systems 13 July 2002 บทที่ 2 ระบบและกระบวนการตัดสินใจ (Information Systems and Decision Making Process) Decision Support Systems Email:wichai@buu.ac.th
ทำไมต้องระบบสารสนเทศ ทำไมต้องนำระบบสารสนเทศมาใช้สนับสนุนการตัดสินใจ จำนวนทางเลือกที่ใช้แก้ปัญหามีมาก เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การตัดสินใจภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด เพื่อให้ทันคู่แข่งขัน สถานการณ์ที่มีความผันผวน หรือไม่มีความแน่นอน ทำให้ผู้ตัดสินใจต้องใช้ความสามารถสูง ในการวิเคราะห์ข้อมูล 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
หัวข้อ (Topic) 1. การนำระบบสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการตัดสินใจ 2. ระบบสารสนเทศ (Information System) 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คืออะไร 4. วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 5. คุณลักษณะและประสิทธิภาพของระบบ DSS 6. ประเภทของระบบ DSS 7. ประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Systems 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Systems “ระบบ” เป็น การรวมกลุ่มกันขององค์ประกอบ เพื่อทำงานตามหน้าที่นั้นๆ ให้สำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ Natural systems Man-made systems 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Information Systems Information system is an open, purposive system that produces information using the I/P/O cycle A purposive system is a system that seeks a set of related goals 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Information Systems Concepts I/P/O cycle is a model of action: receiving input from its environment, processing the input, and producing output back to the environment 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
โครงสร้างของระบบ (Structure of a System) โครงสร้างการทำงานของระบบมี 3 ส่วน 1. Inputs หมายถึง การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ 2. Processes หมายถึง กระบวนการในการเปลี่ยนรูปข้อมูลที่นำเข้า ให้กลายเป็นผลลัพธ์ 3. Outputs หมายถึง ผลลัพธ์ที่ได้มาจากการประมวลผล * GIGO – Garbage in, garbage out ถ้าหากข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบไม่ดี มีความผิดพลาดหรือไม่ถูกต้อง มีความคลาดเคลื่อน ก็จะเป็นผลต่อผลลัพธ์ที่ได้ และเมื่อนำผลลัพธ์นั้นไปใช้งานก็อาจจะส่งผลเสียหายต่อการตัดสินใจ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Feedback หมายถึง ผลตอบกลับ จากการใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนการประมวลผลของระบบ ผลตอบกลับอาจมีทั้งดีและไม่ดี ถ้าไม่ดีก็จะเป็นข้อมูลสำคัญที่ผู้ทำการตัดสินใจ (decision maker) จะต้องนำข้อพกพร่องเหล่านั้นไปปรับปรุงแก้ไขกระบวนทำงานของระบบ ซึ่งอาจต้องปรับปรุงตั้งแต่กระบวนการนำเข้าข้อมูลใหม่ และประมวลผลใหม่อีกครั้ง Environment หมายถึง สภาพแวดล้อมหรือปัจจัยที่มาจากภายนอกระบบ เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งที่จะต้องพิจารณาเมื่อนำเข้าสู่ระบบด้วย ปัจจัยจากภายนอกจะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานของระบบ ซึ่งเราอาจจะไม่สามารถควบคุมได้ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Computer-Based Information Systems A single set of hardware, software, databases, telecommunications, people, and procedures that are configured to collect, manipulate, store, and process data into information 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Computer-Based Information System 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Computer-Based Information System Relationships among the five componenets of an information system 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Questions 1. แอนนี่ลงทะเบียนเรียนภาคเรียนนี้หรือเปล่า 2. คณะจ่ายเงินค่าสอนเดือนมกราคมเท่าไร 3. นิสิตที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษาภาคเรียนนี้มีใครบ้าง 4. ปีนี้มีผู้สมัครเรียนหลักสูตร IT พอหรือยัง 5. การจัดอบรมหลักสูตร e-Business ได้กำไรเท่าไร 6. การจัดสอนภาคพิเศษหลักสูตรใดทำกำไรมากที่สุด 7. เราควรเพิ่มค่าหน่วยกิตภาคพิเศษหรือไม่ 8. อาจารย์คณะวิทยาการสารสนเทศขาดแคลนหรือไม่ 9. หลักสูตร CS ควรจะปรับปรุงหรือยัง 10. เราควรจะเปิดหลักสูตร IT ต่อไปดีไหม 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Questions Day-to-day Operation Questions Management Questions Strategic Questions 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Five Fundamental Types of Information Systems ระบบสารสนเทศจำแนกตามระดับการจัดการ Transaction Processing System : TPS Management Information System : MIS Decision Support System : DSS Office Automation System : OAS Executive Support System : ESS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Tracking Operations with Transaction Processing System : TPS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Transaction Processing System : TPS การจองตั๋ว การลงทะเบียน ยอดสั่งซื้อสินค้า บัญชีลูกหนี้ การประมวลผลเช็ค 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
TPS application คุณลักษณะสำคัญของระบบ TPS ใช้จัดเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นประจำวันของธุรกิจ สามารถสร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจได้ บำรุงรักษาข้อมูล โดยการปรับปรุงข้อมูล เพิ่ม ลบ แก้ไข ให้เป็นปัจจุบันมากที่สุด 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
2 types of TPS application On line TPS --- Interactive Online real time Online batch Offline Batch 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
On-line realtime TPS On-line realtime TPS ??? ผู้ใช้ติดต่อกับ โปรแกรมโดยตรง มีการโต้ตอบกับเครื่อง ประมวลผลและให้ผลลัพธ์ทันที ประมวลผลครั้งละ 1 รายการ 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Batch TPS Batch TPS ??? รายการทั้งหมดถูกรวบรวมไว้ก่อนเป็นชุด เรียกว่า Transaction file เมื่อได้เวลาที่กำหนด จึงประมวลผลพร้อมกัน ผลลัพธ์จะเก็บไว้ใน Master file เพื่อรอการใช้งาน 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
TPS reports TPS reports 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Informing Managers with Management Information System : MIS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS – Management Information Systems ผู้บริหารจะนำเอารายงานที่ได้ ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมกิจกรรม และตัดสินใจ 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
MIS Report 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
MIS with Spreadsheet รูป น55-56 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Improving Decision Making with Decision Support System : DSS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support System : DSS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
DSS application tools SQL 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
DSS application tools - SQL 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
DSS application tools - SQL 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Expert Systems Expert system - ES เป็นระบบที่ทำหน้าที่เสมือนผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษา คำแนะนำแก่ผู้บริหาร รวมทั้งค้นหาช่องทางที่ดีที่สุดให้ ระบบ ES จะนำองค์ความรู้และสารสนเทศที่เป็นประสบการณ์การตัดสินใจในอดีตมาใช้ โดยเลือกปัญหาที่ใกล้เคียงกับสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุดมาประมวลผล และนำเสนอคำตอบให้ผู้บริหาร ES เป็นระบบที่เลียนแบบการทำงานของมนุษย์นั่นเอง 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Enhancing Communication Effectiveness with Office Automation System : OAS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Office Automation System : OAS ระบบสารสนเทศเพื่อสำนักงาน เป็นระบบที่สนับสนุนกิจกรรมการทำงานในสำนักงานที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน รวมทั้งช่วยในการติดต่อสื่อสารของบุคคล ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่เดียวหรือไม่ก็ตาม OAS จะช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง จัดเก็บ เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง แก้ไข และสร้างการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล ไม่ว่าจะโดยทางการพูด การเขียน และทางรูปภาพ 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Types of OAS Resources 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Nonachitecture of OAS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Using a Hypertext System 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Providing a Big Picture with Executive Support System : ESS 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
Executive Support System : ESS ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง - ESS หรือ ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System : EIS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารระดับสูง ให้สามารถเข้าถึง รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลผลสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรตามความต้องการ ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ทำให้สามารถนำสารสนเทศดังกล่าว มาใช้ในการบริหารงานที่รับผิดชอบได้ การกำหนดนโยบาย การวางแผนกลยุทธ์ การจัดสรรงบประมาณ 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ Top Management DSS EIS Middle Management MIS Lower Management TPS Generic Management ES OAS
Information System Executive Information System EIS Executive Information System DSS Decision Support System MIS Management Information System TPS Transaction Processing System ES Expert System OAS Office Automation System
ความสัมพันธ์ 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอื่น 5. ผู้ใช้มีส่วนสำคัญในการออกแบบระบบ ส่วนใหญ่นิยมใช้การออกแบบระบบด้วยการทำต้นแบบ (Prototyping Approach)
ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Scott Morton (1971) “ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบที่มีการทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์สามารถนำข้อมูล (Data) และแบบจำลอง (Model) ต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์เพื่อการแก้ไขปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Problem) ได้”
ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Keen & Scott Morton (1978) “ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบที่ถูกเชื่อมโยงกันระหว่างทรัพยากรสมองของมนุษย์ ที่ทำงานร่วมกับความสามารถของคอมพิวเตอร์ เพื่อต้องการปรับปรุงการตัดสินใจให้ดีที่สุด กล่าวคือ ระบบ DSS เป็นระบบๆ หนึ่ง ที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์คอยช่วยเหลือ และให้การสนับสนุน เพื่อบุคคล ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ สามารถจัดการกับปัญหากึ่งโครงสร้าง (Semistructured Problem) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
History of DSS Goal: Use best parts of IS, OR/MS, AI & cognitive science to support more effective decision
วิวัฒนาการของ DSS ระยะเริ่มแรก กลางปี 1950 นำ คอมพิวเตอร์เครื่องแรก (UNIVAC I) มาประยุกต์ใช้ในองค์กรธุรกิจ ใช้ในการสำรวจสำมะโนประชากรของอเมริกา ระบบที่นำมาใช้ในระยะเริ่มแรกนี้เรียกว่า ระบบประมวลผลรายการข้อมูล (Transaction Processing System : TPS) ระบบจัดทำรายงานสารสนเทศ (Information Reporting System) และเกิดแนวคิดการจัดทำสารสนเทศขึ้นเพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง เรียกระบบนี้ว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS)
วิวัฒนาการของ DSS ระยะที่สอง ประมาณปี 1960-1970 มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และเกิดมีระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation System : OAS) ระยะที่สาม ระบบที่มีอยู่ยังมีข้อจำกัดในการสนับสนุนการตัดสินใจ จึงมีความพยายามพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) ขึ้น ในช่วงปี 1970-4980 ต่อมา DSS ถูกนำไปใช้งานใน 2 ลักษณะ คือ ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS) และระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็นทีม (Group Support System: GSS)
วิวัฒนาการของ DSS ระยะที่สี่ ตั้งแต่กลางทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา มีการพัฒนาระบบที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นที่ปรึกษาของผู้บริหาร เรียกว่า ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES) โดยอาศัยแนวคิดจากเรื่อง ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ต่อมามีการคิดเทคนิคแก้ไขข้อบกพร่องของ AI คือ คิด โครงข่ายใยประสาทเสมือน/คอมพิวเตอร์โครงข่ายใยประสาท (Artificial Neural Network/Neural Computing) และระบบตรรกคลุมเครือ (Fuzzy Logic) เพื่อช่วยให้ระบบสามารถตัดสินใจได้มากกว่า 2 ด้าน ในที่สุดมีการพัฒนาเทคโนโลยี การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP)
วิวัฒนาการของ DSS (ต่อ) ระยะที่ห้า วิวัฒนาการล่าสุดของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในศตวรรษ 21 คือ ตัวแทนปัญญา (Intelligent Agent) เพื่อลดข้อจำกัดในการเข้าถึงข้อมูลจากฐานข้อมูลอื่นๆ ทั่วโลก โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ลักษณะและความสามารถของ DSS 1. สามารถสนับสนุนการตัดสินใจทั้งในสถานการณ์ของปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง 2. สามารถรองรับการใช้งานของผู้บริหารทุกระดับ 3. สามารถสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม และแบบเดี่ยว 4. สามารถสนับสนุนการตัดสินใจได้ทั้งปัญหาแบบเกี่ยวพันและ/หรือปัญหาต่อเนื่อง
คุณลักษณะและความสามารถของ DSS 5. สนับสนุนการตัดสินใจในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการตัดสินใจได้ 6. สนับสนุนกระบวนการและรูปแบบการตัดสินใจที่มีความหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. มีความยืดหยุ่นสูง 8. ใช้งานง่าย 9. ในการพัฒนาจะเน้นหนักในการทำงานที่สำเร็จตามเป้าหมายมากกว่าค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ
คุณลักษณะและความสามารถของ DSS 10. มีหน้าที่สนับสนุนการตัดสินใจเท่านั้น ไม่ใช่ทำหน้าที่แทนผู้ตัดสินใจ 11. ระบบที่มีความซับซ้อน ควรขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น 12. เป็นระบบที่ใช้วิธีวิเคราะห์สถานการณ์การตัดสินใจด้วยแบบจำลองต่าง ๆ ระบบจึงต้องสามารถสร้างแบบจำลอง เพื่อทดสอบป้อนค่าตัวแปร และเปลี่ยนค่าไปเรื่อย ๆ เพื่อสร้างทางเลือกต่าง ๆ 13. สามารถเข้าถึงแหล่งเก็บข้อมูลได้หลากหลาย
ประโยชน์ของ DSS ประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 1. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานส่วนบุคคล โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ 2. พัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหา ช่วยให้ผู้ตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น ยังสามารถช่วยแก้ปัญหากึ่งโครงสร้าง และปัญหาไม่มีโครงสร้างได้อีกด้วย
ประโยชน์ของ DSS 3. ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร DSS ที่ทำงานในลักษณะ Groupware ทำให้ผู้บริหารสามารถทำการปรึกษา ประชุม และเรียกใช้สามารถสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจผ่านเทคโนโลยีเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้ ทำให้สะดวก ประหยัดเวลาและงบประมาณ 4. ส่งเสริมการเรียนรู้หรือการฝึกหัด เมื่อใช้งานบ่อย ๆ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมองค์กร เนื่องจากการตัดสินใจถูกต้องทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น
ประเภทของ DSS เราสามารถจำแนกประเภทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ ดังนี้ จำแนกตามผลลัพธ์ที่ได้ แบ่งย่อยเป็น 7 ประเภท 2. จำแนกตามแนวคิดของ Holsapple และ Whinston แบ่งย่อยเป็น 6 ประเภท 3. จำแนกตามกลุ่มผู้ใช้ แบ่งย่อยเป็น 3 ประเภท 4. จำแนกตามการใช้งานระบบ แบ่งย่อยเป็น 2 ประเภท
ประเภทของ DSS จำแนกตามผลลัพธ์ที่ได้ 1. ระบบสอบถามข้อมูล (File Drawer System) เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ง่ายที่สุด โดยใช้การสืบค้น ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ เช่น สอบถามยอดเงินในบัญชีผ่านทาง ATM เพื่อประกอบการตัดสินใจเบิกเงิน 2. ระบบวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis System) เป็นระบบที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้สามารถตัดสินใจง่ายขึ้น โดยอาศัยพื้นฐานของภาษา SQL ในระบบจัดการฐานข้อมูล ผ่าน Application Software หรือ การใช้โปรแกรม Spreadsheet ในการสร้างและวิเคราะห์แบบจำลองต่างๆ
ประเภทของ DSS จำแนกตามผลลัพธ์ที่ได้ 3. ระบบวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis Information System) เป็นระบบสารสนเทศที่ใช้งานด้านการวิเคราะห์และวางแผน โดยระบบจะวิเคราะห์ข้อมูลจากหลายๆ แหล่ง หลายฐานข้อมูล และวิเคราะห์แบบจำลองขนาดเล็กต่างๆ ตัวอย่าง : การเปรียบเทียบแนวโน้มการขยายตัวของสินค้าบางตัวของบริษัท กับยอดขายของสินค้าประเภทเดียวกันในท้องตลาด
ประเภทของ DSS จำแนกตามผลลัพธ์ที่ได้ 4.แบบจำลองด้านการบัญชี (Accounting Model) ใช้งานด้านการวางแผนและจัดทำงบประมาณ โดยคำนวณข้อมูลเพื่อประเมินผลลัพธ์โดยใช้ข้อกำหนดทางบัญชี เช่น อัตราเงินเฟ้อ รายได้ และรายจ่ายในอนาคต 5. แบบจำลองการนำเสนอ (Representational Model) เป็นแบบจำลองที่ใช้ทำนายผลลัพธ์จากการตัดสินใจ และสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมที่ไม่มีความแน่นอนหรือพฤติกรรมที่มีความคลุมเครือของมนุษย์ หรือเพื่อใช้ในการนำเสนอพฤติกรรมเชิงกลยุทธของระบบในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยระบบจะอาศัยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้เพื่อประกอบการตัดสินใจ
ประเภทของ DSS จำแนกตามผลลัพธ์ที่ได้ 6. ระบบคัดเลือกแนวทางการตัดสินใจที่ดีที่สุด (Optimization Systems) เป็นระบบที่คัดเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดบนพื้นฐานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ และช่วยกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด 7. ระบบให้คำแนะนำ (Suggestion Systems) ระบบให้คำแนะนำ (Suggestion System) เป็นการให้คำแนะนำจากการพิจารณาแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด ควรใช้กับการแก้ปัญหาที่มีโครงสร้างสูง
ประเภทของ DSS จำแนกตามแนวคิดของ Holsapple และ Whinston 1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยอาศัยข้อความ (Text-Oriented DSS) สารสนเทศทีี่จัดเก็บในรูปแบบของข้อ้อความ โดยการนำาเสนอ ประมวลผล และแยกประเภทข้้อมูลเหล่่านีี้อย่่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ข์ของ IT เช่น่น การสร้าง เรียบเรียง และการแสดงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์์ ผ่านอินเทอร์เน็ต 2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่อาศัยฐานข้อมูล (Database-Oriented DSS) ฐานข้อมูลที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจประเภทนี้มีความสามารถในการสร้างรายงานและความสามารถในการสอบถามข้อมูลได้ดี
ประเภทของ DSS จำแนกตามแนวคิดของ Holsapple และ Whinston 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกระดานคำนวณ (Spreadsheet-Oriented DSS) Excel เป็นโปรแกรมที่รวบรวมฟังก์ชันทางด้านสถิติ คณิตศาสตร์ การเงิน วิศวกรรม และอื่นๆไว้นอกจากนี้ Excel มีฟังก์ชันการทำงานที่เกี่ยวกับระบบจัดการฐานข้อมูลระดับพื้นฐาน และสามารถเชื่อมต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูลได้ 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการแก้ปัญหา (Solver-Oriented DSS) โดยการพัฒนาโปรแกรมขึ้นมา หรือใช้โปรแกรมประยุกต์เช่น Excel, LINGO, LINDO ในการแก้ปัญหา เช่น Linear Programming (โปรแกรมเชิงเส้น) เพื่อใช้ในการหาจุด(คำตอบ) ที่เหมาะสมที่สุด
ประเภทของ DSS จำแนกตามแนวคิดของ Holsapple และ Whinston 5. ระบบสนับสนุนโดยอาศัยกฎ (Rule-Oriented DSS) ในการศึกษาถึงกระบวนการและการให้เหตุผลของกฎต่างๆในระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ อาจต้องอาศัยการอธิบายโดยใช้องค์ความรู้ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 6. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบผสม (Compound DSS) เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่มีการนำระบบต่างๆ ข้างต้นมาใช้งานร่วมกัน อาจประกอบด้วยระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่กล่าวมาข้างต้นตั้งแต่ 2 ประเภทขึ้นไป
ประเภทของ DSS จำแนกตามกลุ่มผู้ใช้ 1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส่วนบุคคล (Personal Support) ส่วนมากใช้ส้สำาหรับการตัดสินใจของผู้บ้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะการตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์ แต่ม่มีค่าใช้จ้จ่ายสูง 2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (Group Support) เป็นระบบที่ช่วยลดปัญหาในการเดินทาง ความล่าช้า ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม สำหรับการตัดสินใจปัญหาที่มีความสำคัญมากเกินกว่าจะอาศัยการตัดสินใจของบุคคลเพียงคนเดียว ระบบนี้มักอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วย
ประเภทของ DSS จำแนกตามกลุ่มผู้ใช้ 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจขององค์กร (Organizational Support) การทำงานต่างประเภทกันก็อาจจะใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในลักษณะที่แตกต่างกัน
ประเภทของ DSS จำแนกตามการใช้ระบบงาน 1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะ (Custom-Made System) เป็นระบบที่สร้างขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง หรือเพื่อประกอบการตัดสินใจส่วนบุคคล โดยพัฒนาตามความต้องการของลูกค้า ตัวอย่าง: ระบบสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ระบบธุรกิจด้านการพิจารณาสินเชื่อ
ประเภทของ DSS จำแนกตามการใช้ระบบงาน 2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำเร็จรูป (Ready-Made System) เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่พัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานทั่ว ๆ ไปในองค์กรต่าง ๆ มีลักษณะยืดหยุ่นในการใช้งาน และมีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่สร้างขึ้นมาโดยเฉพาะ
การประเมินระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เราสามารถวัดความสำเร็จของการสร้าง และการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้จาก 2 คุณสมบัติ ต่อไปนี้ 1. การวัดประสิทธิภาพ (Efficiency) 2. การวัดประสิทธิผล (Effectiveness) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
การประเมินระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การวัดประสิทธิภาพ (Efficiency) เป็นการวัดปริมาณผลลัพธ์ที่ได้ (outputs) จากปริมาณการใช้ทรัพยากรนำเข้า (inputs) ต้องถือว่าทรัพยากรในระบบมีอยู่อย่างจำกัด และต้องใช้อย่างประหยัดและใช้อย่างคุ้มค่า การใช้วัสดุในการผลิตน้อย แต่ได้ผลผลิตจำนวนมาก เรียกได้ว่ากระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพสูง สูตรการวัดประสิทธิภาพ: Efficiency = output/input 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
การประเมินระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การวัดประสิทธิผล (Effectiveness) เป็นการวัดความความพึงพอใจของลูกค้า หรือผู้ใช้บริการ เป็นการพิจารณา Outcome ที่ได้จากธุรกิจและกลุ่มคน เช่น การให้บริการลูกค้าเสร็จตรงเวลา หรือเร็วกว่าเวลากำหนด เป็นต้น สูตรการวัดประสิทธิผล: Effectiveness = outcome/input 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
สรุป (Summary) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS) ช่วยให้ผู้จัดการเข้าใจปัญหา และจัดเตรียมแนวทางแก้ไขปัญหาได้เพิ่มมากขึ้น เป้าหมายหลักของระบบ DSS คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหาที่มีโครงสร้าง ปัญหากึ่งโครงสร้าง และพยากรณ์สำหรับการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง มีความสามารถในการปรับปรุงความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไป ง่ายต่อการเรียนรู้และนำไปใช้ ลดเวลาในการแก้ไขปัญหา 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Questions? 20 October 2010 wichai@buu.ac.th
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ระบบสารสนเทศมีความสำคัญต่อกระบวนการตัดสินใจอย่างไร 2. ระบบประมวลผลรายการ (TPS) เป็นอะไร มีความสำคัญต่อระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3. สภาพแวดล้อมภายนอก เป็นปัจจัยหลักที่มีผลกระทบต่อเป้าหมายของระบบจริงหรือไม่ ? 4. DSS ประเภทการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นอย่างไร จงยกตัวอย่าง 5. จงบอกประโยชน์ของการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มา 3 ข้อ 6. จงบอกความสามารถของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มา 5 ข้อ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ส วั ส ดี 20 October 2010 wichai@buu.ac.th 27 March 2001 E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th