CAUTI (Catheter-Associated Urinary Tract Infection) Present By

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
CQI เรื่อง กระดาษบอกสิทธิ์.
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ขดลวดพยุงสายยาง.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ICWN MICU3
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CAUTI (Catheter-Associated Urinary Tract Infection) Present By General Male Ward

การป้องกันการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ จากการคาสายสวนปัสสาวะผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาในไอซียูอายุรกรรม ผู้เขียนหลัก พยาบาลชำนาญการพิเศษและพยาบาลผู้ปฎิบัติ การพยาบาลขั้นสูง (APN) กลุ่มผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา Email: ssupattr@medicine.psu.ac.th หัวหน้าหออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา พยาบาลปฏิบัติการ หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 มกราคม- มีนาคม 2555

การศึกษา ใช้กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research) 1)การวางแผน (planning) 2) การปฏิบัติ (acting) 3)การสังเกต (observing) 4) การสะท้อนการปฏิบัติ(reflecting) 5)การปรับปรุงแผน (re-planning)

การเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) การสนทนากลุ่ม ระหว่างพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ในหอผู้ป่วย ไอซียูอายุรกรรมทุกคน เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาของการพยาบาลเพื่อป้องกันการติด เชื้อ สาเหตุที่อาจเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ 2) การสังเกต ใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยคณะผู้วิจัย และพยาบาลทุกคนสังเกตความเป็นไปได้ของรูปแบบการ พยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อ รวมถึงปัญหาและอุปสรรค 3) การสืบค้นข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการป้องกันการ ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะใน ผู้ป่วยวิกฤต จากฐานข้อมูล PUBMED, CINAHL, The Cochrane Library เป็นต้น ระหว่างปี ค.ศ. 2007 – 2010 รวมถึงข้อมูลจากวารสารต่างๆ และผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงาน ในหน่วยควบคุมการติดเชื้อของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 4)รายงานจากหน่วยควบคุมการติดเชื้อ ข้อมูลจำนวนวันของ การคาสายสวนปัสสาวะและอัตราการติดเชื้อ ในทางเดิน ปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะผู้ป่วยที่เข้ารับการ รักษาในไอซียูอายุรกรรม 2554

สรุปรูปแบบการพยาบาล เพื่อป้องกันการติดเชื้อ CAUTI 1)การใส่สายสวนปัสสาวะในหอผู้ป่วยไอซียู อายุรกรรม - ใส่สายสวนปัสสาวะ ในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้เท่านั้น - เลือกขนาดของสายสวนปัสสาวะให้มีขนาดเล็กที่สุด - ใส่สายสวนปัสสาวะด้วยเทคนิคปราศจากเชื้ออย่าง เคร่งครัดรวมถึงอุปกรณ์ที่รองรับ ปัสสาวะ ใช้ผ้าขนาดใหญ่ 2 ผืน และต้องมีผู้ช่วยเหลือ ในการใส่สายสวนปัสสาวะทุกครั้ง

2)การดูแลสายสวนปัสสาวะในหอผู้ป่วยไอซียูอายุรกรรม -ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และสายสวนปัสสาวะด้วยสบู่เวร ละ 1 ครั้ง หรือเมื่อผู้ป่วย ขับถ่ายอุจจาระ หลังทำ�ความสะอาด ต้องซับให้แห้ง - ดูแลไม่ให้สายดึงรั้ง หักพับ เพื่อให้ปัสสาวะระบายได้ดี ไม่มีการ คั่งค้าง ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติเพื่อขอความร่วมมือในการช่วยดูแลสาย สวนปัสสาวะไม่ให้ สายเลื่อนขึ้นลง - ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ เพื่อให้เข้าใจและตระหนักถึง ความสำคัญของการล้างมือ ก่อนและหลังสัมผัสชุดสวนหรือเทปัสสาวะทิ้ง รวมถึงรูปแบบการ พยาบาลนี้อย่างต่อเนื่อง กรณีที่จำ�เป็นต้องปลดข้อต่อ เช่น กรณีต่อกระบอกตวงปัสสาวะ ทุกชั่วโมง (urinovolumeter) ต้องใช้เทคนิคปราศจากเชื้อเท่านั้น

3)การประเมินการติดเชื้อ CAUTIเป็นระยะ - ผู้ป่วยที่มีข้อมูลสนับสนุนว่าอาจมีการติดเชื้อ CAUTI รายงานแพทย์เพื่อพิจารณา ส่งตรวจปัสสาวะ หากพบปริมาณเม็ดเลือดขาว 5 – 10 เซลล์/ลบ.ซม. รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาถอดสายสวน กรณีมากกว่า 10 เซลล์/ลบ. ซม. รายงานแพทย์เพื่อให้ การรักษา ส่งปัสสาวะเพาะเชื้อและถอดสายสวนปัสสาวะ 4)การพิจารณาถอดสายสวนปัสสาวะ -เมื่อไม่มีข้อบ่งชี้ หรือข้อบ่งชี้นั้นได้รับการแก้ไขจนผู้ป่วย อาการดีขึ้นแล้ว - มีปัสสาวะรั่วซึมออกนอกระบบสายสวนปัสสาวะ (leakage)

5)การใช้ระบบเตือน (reminder) - พิจารณาข้อบ่งชี้ของการถอดสายสวนปัสสาวะอย่างน้อยวัน ละหนึ่งครั้ง - ผู้ป่วยที่ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะมานาน 3 วันเป็นต้นไป ต้องพิจารณารายงาน แพทย์เพื่อถอดสายสวนปัสสาวะ 6)แกนนำ� - มีความเข้มแข็ง มุ่งมั่น และสร้างวัฒนธรรมความรับผิดชอบ ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย - รายงานอัตราการติดเชื้อ CAUTI แบบทันต่อเหตุการณ์ เพื่อ ร่วมกันวิเคราะห์ ค้นหาสาเหตุ และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ต่อไป - สร้างแรงจูงใจและเป็นกำลังใจในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง - ประสานงานกับหอผู้ป่วยสามัญที่รับย้ายผู้ป่วยที่คาสายสวน ปัสสาวะไปดูแลต่อเนื่อง

ผลการวิจัย อุบัติการณ์CAUTI ระหว่างก่อนและหลังใช้รูปแบบการ พยาบาลเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในผู้ป่วยที่เข้ารับการ รักษาในหอผู้ป่วยไอซียูอายุรกรรม ปี 2553 และ 2554 มีทั้งหมด (N)1,013 ราย และ 948 ราย ตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ (n) ใกล้เคียงกัน คือ 326 คนและ 306 คน คิดเป็น ร้อยละ 32.18 และ 32.28ตามลำดับ จำนวนวันรวมของการคาสายสวนปัสสาวะลดลงจาก 1,114 วันต่อปี เหลือ 736 วันต่อปีโดยจำนวนวันคา สายสวนปัสสาวะนานเฉลี่ยลดลง จาก 3.42 วันต่อคน เหลือ 2.41 วันต่อคน อัตราการติดเชื้อ CAUTI ลดลงจาก 4.49 ครั้ง/1,000 วัน ของการคาสายสวนปัสสาวะ เหลือ 0 ครั้ง/1,000 วัน ของการคาสายสวนปัสสาวะ

CAUTI ของโรงพยาบาล CAUTI Prevention 1)ประเมินความจำเป็นที่ต้องใส่คาสายสวนปัสสาวะต่อเมื่อ จำเป็นเท่านั้น หลังจากพิจารณาทางเลือกอื่นๆแล้วเช่น comdom ,CIC และประเมินต่อเป็นระยะๆและถอดสาย สวนปัสสาวะออกเร็วที่สุด 2)เลือกสายสวนปัสสาวะ โดยประเมินผู้ป่วยและระยะเวลา ที่คาดว่าจะใส่ เลือกขนาดสายสวนที่มีขนาดเล็กที่สุดที่จะ ให้ปัสสาวะไหลสะดวก 3)การใส่สายสวนปัสสาวะ ผู้ใส่ต้องได้รับการฝึกอบรมและ มีทักษะเพียงพอ ล้างมือให้สะอาดก่อนใส่ ใช้หลัก aseptic technique ที่ถูกต้อง ทำความสะอาดรูเปิดขอ ท่อปัสสาวะ(urethra orifice)เปิดด้วย sterile NSS ใช้สาร หล่อลื่นที่เหมาะสมจากภาชนะที่ออกแบบสำหรับใช้ครั้ง เดียว *** Thai Patien Safety Goals

CAUTI ของโรงพยาบาล(ต่อ) 4)กาดูแลระหว่างคาสายสวนปัสสาวะ sterile closed urinary drainage system ล้างมือและใส่ถุงมือสะอาดก่อนที่จะสัมผัสสายสวน ปัสสาวะและล้างมือหลังจากถอดถุงมือ เก็บปัสสาวะจากช่องที่ออกแบบไว้(sampling port) โดย ใช้ aseptic technique จัดวางตำแหน่งของถุงเก็บปัสสาวะให้ต่ำกว่าระดับ กระเพาะปัสสาวะ โดยไม่สัมผัสกับพื้น ระบายปัสสาวะจากถุงเก็บปัสสาวะบ่อยพอที่จะให้ปัสสาวะ ไหลสะดวก ไม่ไหลย้อนกลับ ใช้ภาชนะสะอาดที่แยก เฉพาะของแต่ละราย อย่าให้ urinary drainage tap สัมผัสกับภาชนะรองรับ *** Thai Patien Safety Goals

CAUTI ของโรงพยาบาล(ต่อ) ไม่เติม antiseptic หรือ antimicrobial solutions ใน ถุงเก็บปัสสาวะ ไม่เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะโดยไม่จำเป็น หรือไม่ เปลี่ยนเป็น routine ดูแล Meatal hygiene ประจำวัน ไม่ควรทำ bladder irrigation 5)ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่ ฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ในการใส่สายสวนปัสสาวะและการดูแล ให้ ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับบทบาทในการป้องกัน การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ *** Thai Patien Safety Goals

THANK YOU FOR YOUR ATTENTION