(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี A Roadmap to Value-based Health Care 4.0
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การจัดทำแผนเงินบำรุง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) A Roadmap to Value-based Health Care 4.0 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 9 สิงหาคม 2559

บริบทสุขภาพคนไทย กรอบการวิเคราะห์ 16 แผนงาน 48 โครงการ กรอบการนำเสนอ บริบทสุขภาพคนไทย กรอบการวิเคราะห์ 16 แผนงาน 48 โครงการ ประเด็นเน้นหนัก ปี 2560

ขอขอบพระคุณ ทุกๆหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระบวนการ เกริ่นนำ ขอขอบพระคุณ ทุกๆหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระบวนการ workshop 15 ครั้ง รับฟังความเห็น 4 ภาค ประชุม สป. สัญจร ที่ขอนแก่น นักยุทธ์ทั่วประเทศ วิเคราะห์ตัวชี้วัด และ template ข้อจำกัด แผน 12, Thailand 4.0

18 ส.ค. 2559 นำเสนอการปรับแผนยุทธศาสตร์ ต่อสำนักงบประมาณ Next step 15 ส.ค. 2559 สนย./สตป./HITAP/กพร./หน่วยงานอื่นๆ และ 12 เขตสุขภาพทดสอบตัวชี้วัด 18 ส.ค. 2559 นำเสนอการปรับแผนยุทธศาสตร์ ต่อสำนักงบประมาณ 19-14 ส.ค. 2559 CIPO จัดเตรียมมาตรการ 15 ก.ย. 2559 ประชุมผู้บริหาร ชี้แจงนโยบาย ปี 2560 12-13 ม.ค. 2560 first ไตรมาส review

โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริบทสุขภาพคนไทย สังคมผู้สูงอายุ โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความก้าวหน้า Technology ความเป็น สังคมเมือง

อายุคาดเฉลี่ยและการมีสุขภาพดีเมื่อแรกเกิด (รวมชาย-หญิง) บริบทสุขภาพคนไทย อายุคาดเฉลี่ยและการมีสุขภาพดีเมื่อแรกเกิด (รวมชาย-หญิง) Japan 84.0 Singapore 83.0 Malaysia 75.0 Thailand 74.75 World bank 2014 100.00 90.00 หลัง UC ก่อน UC การแก้ปัญหาด้านสุขภาพเพื่อลดอัตราตายที่เป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ ลดเหลื่อมล้ำ โดยรัฐบาลพยายามลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการรักษาพยาบาล - ปรับระบบการบริหารจัดการในพื้นที่ ในรูปแบบเขตสุขภาพครอบคลุมหน่วยบริการภายใน 4 - 8 จังหวัด ดูแลประชากรประมาณ 5 ล้านคน เป็น 1 เขตสุขภาพ รวมทั้งสิ้น 12 เขตสุขภาพ เพื่อดูแลการจัดบริการแบบไร้รอยต่อเชื่อมโยงบริการตั้งแต่ระดับพื้นฐานไปจนถึงเชี่ยวชาญระดับสูง - ขยายโรงพยาบาลระดับอำเภอ ให้มีมาตรฐานเท่ากับโรงพยาบาล ระดับจังหวัด จำนวน 20 แห่ง ทำให้มีโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถมาตรฐานในระดับจังหวัด รวม 117 แห่ง ทั่วประเทศ - พัฒนาศูนย์การแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขาหลัก คือ หัวใจ หลอดเลือดสมองจากอุบัติเหตุ มะเร็ง และทารกแรกเกิด - โดยขยายการผ่าตัดโรคหัวใจ จากเดิมผ่าตัดได้ 14 แห่ง เพิ่มขึ้นอีก 2 แห่ง เป็น 16 แห่ง ได้แก่ รพ. ลำปาง เชียงรายประชานุเคราะห์ พุทธชินราช ราชบุรี นครปฐม ชลบุรี พระปกเกล้า ขอนแก่น อุดรธานี มหาราชนครราชสีมา หาดใหญ่ สรรพสิทธิประสงค์ สุราษฎร์ธานี ตรัง วชิระภูเก็ต ยะลา (ใน 11 เขตสุขภาพ) - ขยายหัตถการสวนหัวใจใน 18 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล พุทธชินราช เชียงรายประชานุเคราะห์ ลำปาง นครพิงค์ สรรพสิทธิประสงค์ มหาราชนครราชศรีมา อุดรธานี ขอนแก่น พระปกเกล้า ชลบุรี สุราษฎร์ธานี ยะลา หาดใหญ่ ตรัง พระนั่งเกล้า สระบุรี นครปฐม ราชบุรี - และเพิ่มขีดความสามารถในการผ่าตัดสมองในรพ. 51 แห่ง - มะเร็ง สามารถให้บริการเคมีบำบัดในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปได้ทุกแห่ง ให้บริการรังสีรักษาในโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลมะเร็งได้ทุกแห่ง ส่งผลให้การเข้าถึงบริการรังสีรักษาของผู้ป่วยมะเร็งสะดวกและรวดเร็วขึ้น - ทารกแรกเกิด เพิ่มการเข้าถึงบริการโดยการเพิ่มจำนวนเตียงทารกแรกเกิด(NICU) 188 เตียง รวมเป็น 850 เตียงทั้งประเทศ จากที่ต้องมี 1,373 เตียง ส่งผลให้ลดการส่งออกนอกเขตสุขภาพ ทั้งนี้ รัฐบาลปรับระบบการบริหารจัดการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำโดยให้ประชาชนสามารถใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ทุกโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชน อย่างไม่มีเงื่อนไข และลดข้อจำกัดด้านสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงยาที่มีราคาสูง รวมทั้งสิทธิการรับริการสุขภาพของกลุ่มคนดั้งเดิมที่ไม่มีสัญชาติไทย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร์ 35,210 คน และกลุ่มเด็กนักเรียนที่ไม่ได้สิทธิพื้นฐานด้านสาธารณสุข จำนวน 67,577 คน อีกด้วย ที่มา: LE - สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล HALE - สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ

Future Scenarios ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลดลงและยั่งยืน มีระบบตอบสนองต่อภัยสุขภาพต่าง ๆ ระบบบริหารจัดการที่โปร่งใส ประเทศ ระบบบริการ ระบบการส่งต่อ คุณภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ ลดความแออัด ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ครอบคลุม ทั่วถึง ประชาชน ทุกกลุ่มวัยได้รับ การพัฒนาตามวัย อายุขัยเฉลี่ยและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ประชาชนได้รับ การส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพ อย่างเท่าเทียม

จัดให้มีระบบจัดการและกำจัดขยะมูลฝอย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2559 (ที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุข) ม.47 ม.48 ม.55 ม.258 บุคคลยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายบัญญัติ สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอด บุตรย่อมได้รับความคุ้มครองและช่วยเหลือตามที่กฎหมายบัญญัติ เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค และส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย จัดให้มีระบบจัดการและกำจัดขยะมูลฝอย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปรับระบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จากการบริหารจัดการ และการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ครอบคลุมการส่งเริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม

P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน H umility O riginality P eople centered approach M astery MOPH เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

แผน 20 ปี กสธ. ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 แผนปฏิรูป ประชารัฐ กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579)

เป้าหมายที่ 1 : ประชาชนสุขภาพดี ลดปัจจัยเสี่ยง+เจ็บป่วย กรอบการวิเคราะห์ เป้าหมายที่ 1 : ประชาชนสุขภาพดี 1 2 ลด Premature Mortality เพื่อเพิ่ม (LE) ให้อายุยืน 80 ปีจำนวนผู้เสียชีวิตรวม 156,561 ราย ลดปัจจัยเสี่ยง/เจ็บป่วยของคนไทย เพื่อเพิ่ม (HALE) ให้แข็งแรงถึงอายุ 72 ปี (Physical Health) อัตรา อัตราป่วย ความชุก ร้อยละ อัตราการเสียชีวิต ลดปัจจัยเสี่ยง+เจ็บป่วย ส่งเสริมสุขภาพคนไทย External causes ผู้เสียชีวิตรวม 24,069 ราย Chronic diseases ผู้เสียชีวิตรวม 132,492 ราย 1) สิ่งเสพติด (ความชุก) 5) Mental/Emotion well-Being 1) การบาดเจ็บจากการจราจร ผู้เสียชีวิต : 14,483 ราย 1) เบาหวาน ผู้เสียชีวิต : 28,260 ราย • ผู้บริโภค Alcohol 32% • % เด็กไทย (EQ) (45%) • ผู้บริโภคบุหรี่ 21% • % Pt. ซึมเศร้าเข้าถึงบริการ สุขภาพจิต (45%) 2) หลอดเลือดสมอง ผู้เสียชีวิต: 27,521 ราย 2) การฆ่าตัวตายสำเร็จ ผู้เสียชีวิต: 4,179 ราย • ผู้บริโภคยาเสพติด/บำบัด 78,153 คน 6) Active Living 3) หัวใจขาดเลือด ผู้เสียชีวิต : 19,151 ราย • % ปชช.มีพฤติกรรมที่ดี 3) การจมน้ำ ผู้เสียชีวิต : 3,245 ราย 2) ความดันโลหิตสูง • >6 ปีหลับพอต่อสุขภาพ • ความชุก : 25% • อัตราป่วยที่คุมได้ : 26% 4) มะเร็งตับ ผู้เสียชีวิต : 16,116 ราย 7) Healthy Consuming 4) การถูกทำร้าย ผู้เสียชีวิต : 2,162 ราย • % ปชช.บริโภคเหมาะสม • % ปชช.บริโภคถูกต้อง 5) มะเร็งปอด ผู้เสียชีวิต : 12,867 ราย 3) อ้วน/น้ำหนักเกิน * ข้อมูลจากการคาดประมาณ AEM (AIDS Epidemic Model) 2015 • % BMI ปกติ (ญ<55/ ช<42) % (<18 ปี) สูงดีสมส่วน 8) Environment Health 6) วัณโรค ผู้เสียชีวิต : 12,000 ราย • % ปชช.มีสุขลักษณะที่ดี • %ปชช.ได้จัดการขยะที่ดี 4) Reproduct & Sex Health • % ตั้งครรภ์ซ้ำ ญ<20ปี 48:1000 • อัตราคลอดมีชีพวัยรุ่น 12.8:1,000 8) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้เสียชีวิต : 4,647 ราย 7) โรคเอดส์ ผู้เสียชีวิต : *11,930 ราย 9) Oral Health • % เสียฟันทั้งปาก (7.2%)

เป้าหมายที่ 2 : เจ้าหน้าที่มีความสุข 3 4 กรอบการวิเคราะห์ เป้าหมายที่ 2 : เจ้าหน้าที่มีความสุข Availability Accessibility ผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างมีคุณภาพ บริหารกำลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด • อัตราส่วนของบุคลากรด้านสุขภาพต่อประชากร (สบช.) • สัดส่วนการกระจายบุคลากรสุขภาพ (เมือง/ชนบท) (บค.) Acceptability Quality สร้างความพร้อมกำลังคนด้านสุขภาพเชิงกลยุทธ์ ดึงดูดและธำรงรักษากำลังคนคุณภาพ 3 • % หน่วยบริการมีอัตรากำลังสอดคล้องกับแผนกำลังคน (สนย.) • ดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy work life index) ≥ 50 (บค./ทุกกรม) 4 • ดัชนีความผาสุกขององค์กร (Happy Workplace Index) ≥57 (บค./ทุกกรม)

เป้าหมายที่ 3 : ระบบสุขภาพยั่งยืน 5 6 7 8 กรอบการวิเคราะห์ เป้าหมายที่ 3 : ระบบสุขภาพยั่งยืน 5 6 7 8 Access Coverage Quality Governance เพิ่มแพทย์ใน รพ.เขตเมืองและชนบท แพทย์ต่อปชก. เพิ่มขึ้น ความครอบคลุมของปชช. ได้รับวัคซีนครบตาม EPI % การได้รับวัคซีนกลุ่มเป้าหมาย HA % หน่วยงานที่ผ่าน HA ITA (Integrity and Transparency Assessment ) ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่าน ITA 2) ลดเวลาที่ปชช.รอคอยรับบริการ (WaitingTime) 2) Expenditure of GDP • รายจ่ายด้านสุขภาพต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ 2) เพิ่มบุคลากรสหสาขาวิชาชีพ อัตราตามมาตรฐานที่กำหนดหน่วยบริการทุกระดับ 2) อัตราการคัดกรองผู้ป่วย 3) อัตราเข้ารับบริการผู้ ป่วยในซ้ำ (Re-admission Rate) 3) พัฒนามาตรฐานยา วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3) IT one system • พัฒนา/เชื่อมโยงระบบข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สถานภาพของประชาชน • มีคลังข้อมูลสุขภาพระดับเขต • จัดเก็บข้อมูลสุขภาพที่เป็นมาตรฐานระดับประเทศ 3) เพิ่มเตียงสถาน พยาบาลให้เพียงพอต่อความต้องการ 4) มีบริการแผนไทยและใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการทุกระดับ • จำนวนสถานบริการมีบริการการแผนไทยและทางเลือก 4) Satisfaction Index 4) Restructuring (structure & finance) • ลดเหลื่อมล้ำบริการทุกสิทธิฯ

ความเชื่อมโยงเป้าหมาย-ยุทธศาสตร์-แผนงานโครงการ-ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด(LE) ไม่น้อยกว่า 80 ปี ดัชนีวัดความสุขด้วยตนเอง ของคนในองค์กร (Happy Work Life Index) ≥50 Access Coverage External causes Quality ดัชนีสุขภาวะองค์กร (Happy Workplace Index) ≥57 Governance Chronic diseases อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี (HALE) ลดปัจจัยเสี่ยงและการเจ็บป่วย หมายเหตุ: ตัวชี้วัดระดับองค์กร (Cooperate KPIs) 8 ตัว ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน (Functional PIs) 100 ตัว ส่งเสริมสุขภาพของคนไทย

4 Excellence Strategies แผน 20 ปี กสธ. 4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) 8 Corporate Indicators 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหาร 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและพัฒนา คุณภาพสถานบริการ 1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. การบริการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจารและระบบส่งต่อ 4. ศูนย์กลางด้านสุขภาพ บริการ และผลิตภัณฑ์ สุขภาพนานาชาติ/เขตเศรษฐกิจพิเศษและการ เข้าถึงบริการด้านสุขภาพในชายแดนใต้ Service Excellence P&P Excellence Governance Excellence People Excellence 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศและกฎหมายด้านสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ 3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และการคุ้มครอง ผู้บริโภค 4. ระบบธรรมาภิบาลและวิจัย 1. การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ (HRP) 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน (HRD) 3. การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้าน สุขภาพ (HRM) 4. แผนกำลังคนด้านสุขภาพภาคีเครือข่าย

Draft PP Excellence Strategies (4 แผนงาน 11 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. Draft PP Excellence Strategies (4 แผนงาน 11 โครงการ) 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทย กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2. ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จัดการโรค/ภัยสุขภาพ และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข สร้างเสริมสุขภาพประชาชนบนผืนแผ่นดินไทย สร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของคนไทย เพื่อลดการพึ่งพิงบริการ ชุดสิทธิการตรวจคัดกรองสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหาร/ลดปัจจัยเสี่ยง NCDs โครงการส่งเสริมและพัฒนาความมั่นคงด้านอาหาร 4. บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพ สถานบริการ บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เสี่ยง (Hot Zone)

Draft Service Excellence Strategies (4 แผนงาน 21 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. Draft Service Excellence Strategies (4 แผนงาน 21 โครงการ) การพัฒนางานตามพระราชดำริ โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติฯ 2. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (PCC) ผลิตและพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เครือข่ายระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) 3. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ระบบบริการสุขภาพ 15 สาขาหลัก พัฒนาระบบส่งต่อ พัฒนาระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical & Wellness Hub)/เขตเศรษฐกิจพิเศษและชายแดนใต้ ศูนย์กลางบริการ (Wellness Hub) พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) การเข้าถึงบริการชายแดนใต้ แรงงานข้ามชาติ

Draft People Excellence Strategies (4 แผนงาน 4 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. Draft People Excellence Strategies (4 แผนงาน 4 โครงการ) การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ (HRP) พัฒนาระบบการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ คาดประมาณความต้องการกำลังคน พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ กำลังคนด้านสุขภาพ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน (HRD) พัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ ผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ พัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ 3. การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ (HRM) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคน สร้างขวัญกำลังใจและความผูกพันองค์กร บริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) 4. แผนกำลังคนด้านสุขภาพภาคีเครือข่าย พัฒนาอาสาสมัครครอบครัว เสริมสร้างความเข้มแข็งตำบลจัดการสุขภาพ ด้วยตนเอง พัฒนาองค์กรภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็ง

Draft Governance Excellence Strategies (4 แผนงาน 12 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. Draft Governance Excellence Strategies (4 แผนงาน 12 โครงการ) ระบบข้อมูลสารสนเทศ/กฎหมายด้านสุขภาพ พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ (NHIS) พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทอล พัฒนากฎหมายสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ 3 ระบบกองทุน บริหารจัดการด้านการเงินการคลังระดับประเทศ บริหารจัดการการเงินการคลัง หน่วยบริการ 3. ระบบธรรมาภิบาลและการวิจัย โครงการประเมินคุณธรรม/ความโปร่งใส ระบบควบคุมภายใน/บริหารความเสี่ยง วิจัยและการจัดการความรู้ (KM) 4. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และการคุ้มครองผู้บริโภค ควบคุมป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล พัฒนามาตรฐานยา วัคซีน เทคโนโลยีการแพทย์ คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ

16 แผนงาน 48 โครงการ 98+2 ตัวชี้วัด NHIS Hard copy ประเมิน ระบบรายงานปัจจุบัน (Electronic+Survey) ส่วนกลาง 20 4 5 29 89 ส่วนภูมิภาค 26 26 37 2 ส่วนกลาง+ภูมิภาค - 2 - 120 รวมทั้งหมด 46 32 42

การติดตามและประเมินผล

เป้าหมาย ประเด็นเน้นหนัก ปี 2560 ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี 1. LE 2. HALE เจ้าหน้าที่มีความสุข 1. Happinometer 2. Happy Workplace Index ระบบสุขภาพยั่งยืน 1. Access 2. Coverage 3. Quality 4. Governance 1. P&P Excellence 2. Service Excellence 3. People Excellence 4. Governance Excellence PIRAB 6 Building Blocks Core Value : MOPH Good Governance (คุณธรรม,นิติธรรม,โปร่งใส,มีส่วนร่วม, รับผิดชอบ,คุ้มค่า) Food Safety CVDs /CKD RTI PCC Smart ECS Stroke/ Stemi/ Truama Happy Work Life Index HA NHIS Financing - ร้อยละการตรวจอาหารปลอดภัยครบตามเกณฑ์ประเมิน (ประเมิน) - ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยง CVDs ที่ได้รับการเฝ้าระวังและขึ้นทะเบียน (NHIS) - อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ต่อแสนประชากร) - ร้อยละพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี) (รายงาน) - ร้อยละของ รพ.F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ - อัตราการเสียชีวิตจาก Stroke/ Stemi/ Trauma (NHIS) - ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) ไปใช้ - ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรอง HA (รายงาน) - ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล (ประเมิน) - หน่วยบริการมีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการการเงินการคลัง

ขอบคุณครับ