COC.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การบูรณการเชื่อมโยงการดูแลจากรพ.สู่บ้านและชุมชน
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การติดตาม (Monitoring)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

COC

นโยบายการดำเนินงาน COC จังหวัดเชียงใหม่ 1.ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2.การดูแลที่ได้มาตรฐานตามแนวทางที่กำหนด 3.การใช้ Chart Home Ward 4. การเชื่อมโยงการดูแลอย่างต่อเนื่องระหว่าง รพ.กับชุมชน 5.การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายต่าง ๆ 6.ระบบการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วย (COC Link) 7.ระบบพี่ช่วยน้อง 8.ผลักดันการเกิดศูนย์ฟื้นฟูในชุมชน

ตัวชี้วัดงาน COC จังหวัดเชียงใหม่ 1. การใช้ Chart Home Ward ในผู้ป่วยกลุ่มสีแดงร้อยละ 100 2. อัตราการ Re-admit ภายใน 28 วันด้วยโรคเดิม ไม่เกินร้อยละ 10 3. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน (การเกิดแผลกดทับใหม่ การพลัดตกหกล้ม การเกิดข้อติด ปอดบวม ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ) ไม่เกินร้อยละ 5 4. อัตราความครอบคลุมในการเยี่ยมบ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5. มีศูนย์ฟื้นฟูในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง/อำเภอ 6.ตัวชี้วัดอื่น ๆ ตามที่หน่วยงานกำหนดเพิ่มเติม

1.กลุ่มเป้าหมาย LTC ในเขตสุขภาพที่ 1 1.1 กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่อง เน้นผู้ป่วยโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง และเป็นผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงด้วยโรค Stroke, MI, CKD, CA, Palliative 1.2 กลุ่มผู้พิการทางการเคลื่อนไหว (ติดบ้าน ติดเตียง) 1.3 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

2. ตามกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการประสานงาน ใน Service plan ของจังหวัดเชียงใหม่ที่มี ความจำเป็นต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 3. ตามกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญของหน่วยงาน ตนเอง

1.มีนโยบาย การจัดระบบการดูแลที่บ้านที่ชัดเจน ประเด็นการติดตามงาน coc 1.มีนโยบาย การจัดระบบการดูแลที่บ้านที่ชัดเจน 2.มีฐานข้อมูล ภาวะสุขภาพและผู้ดูแลในชุมชนที่รับผิดชอบ 3.ทีมสุขภาพ มีการ ประเมินปัญหา ของผู้ป่วยให้ความรู้เฉพาะด้านใน การดูแลผู้ที่เจ็บป่วยที่บ้าน แก่ญาติ ผู้ดูแล และ วางแผนการเยี่ยม ผู้ป่วย 4.มีการพัฒนาบุคลากร ที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ที่เจ็บป่วยที่บ้าน 5.มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกัน 6.มีทีมให้การปรึกษา ที่ชัดเจน และสามารถให้คำปรึกษา แก่ เครือข่ายบริการ และ ผู้ดูแลสม่ำเสมอ

7.มีการ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ ในการ สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 8.มี ตารางปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ในการดูป่วยที่บ้าน 9.มีแผนการเยี่ยมบ้าน 10.เยี่ยมและติดตามดูแล ผู้ป่วยที่บ้าน อย่างต่อเนื่องตามแผน การ เยี่ยมผู้ป่วยจนสามารถจำหน่าย case ได้ 11.มี ระบบส่งต่อ และติดตาม การตอบรับ ผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบ ที่ส่งต่อไปยังเครือข่าย บริการให้ได้รับการดูแลที่บ้านอย่างต่อเนื่อง

12.มี ระบบรายงาน รายเดือน และรายปี ที่ถูกต้องเป็นปัจจุบันและนำเสนอ ในที่ประชุมทุกเดือน 13.มีการวิเคราะห์ปัญหา/มีแผนกแก้ปัญหา 14.มีทะเบียนผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 15.ผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านตามแนวทางทุกราย 16.มี Chart Home Ward ทุกรายตามแนวทางที่กำหนด 17.มีการวางแผนการเยี่ยมบ้านครั้งต่อไปทุกราย 18.มีรายงานการเยี่ยมติดตามการดำเนินงานการบันทึกข้อมูลของ รพ.สต. โดยทีม COC อำเภอ และมีแผนแก้ไขปัญหา

สรุปประเด็นในภาพรวม ในการนิเทศครั้งที่ 1 (25 อำเภอ) การดำเนินงาน COC ในโรงพยาบาล ได้มีการดำเนินงานทุกโรงพยาบาล และมีผลลัพธ์เชิงกระบวนการ แต่ยังขาดการกำหนดผลลัพธ์เชิงคุณภาพที่เชื่อมโยงกับ Clinic ส่วนใหญ่ยังขาดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยังขาดการนิเทศติดตามงานในพื้นที่ รพ.สต.โดยทีม COC อำเภอในเชิงระบบ ส่วนใหญ่ไปเยี่ยมพร้อมกับการไปเยี่ยมผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ขาดการบันทึกรายงานการเยี่ยมติดตาม

4.บางพื้นที่ที่ยังไม่ได้ใช้ Chart Home ward ตามแนวโยบายของจังหวัด แต่ก็มี บันทึกเอกสารที่เป็นของพื้นที่แต่เนื้อหา คล้ายฯกัน 5.การดำเนินงาน COC ในชุมชนได้ ดำเนินงานทุกแห่ง แต่ยังไม่ได้แยก ทะเบียนที่ชัดเจน 6.การดำเนินงาน Palliative care ชุมชน ส่วนใหญ่ยังไม่ชัดเจน จะดำเนินงาน ร่วมกับ COC ไม่บ่งบอกถึงความ เฉพาะเจาะจงอย่างไรในการดูแลผู้ป่วยแบบ ประคับประคอง

สรุปประเด็นในภาพรวม ในการนิเทศครั้งที่ 2 (13 รพ.) มีจำนวน 1 แห่งที่ยังไม่ได้ใช้ chart home ward ซึ่งกำลังดำเนินการ โดยจะเชื่อมโยงกับแบบฟอร์มใน COC link มีจำนวน 1 แห่งที่ chart home ward ยังไม่ครอบคลุม ไม่ได้แยก แฟ้มรายบุคคลที่ชัดเจน โดยเฉพาะใน รพ.สต. มีจำนวน 1 แห่งยังไม่ได้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ไม่ได้มีการพูดคุย การดำเนินงานแบบเป็นทางการ ยังไม่กำหนดแนวทางการดำเนินงานที่ ชัดเจน และยังขาดการเยี่ยมติดตามการดำเนินงานของ รพ.สต.โดยทีม coc อำเภอ ส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

การดำเนินงาน/ควบคุมกำกับติดตาม PERT การดำเนินงาน/ควบคุมกำกับติดตาม Essential TASK ความต้องการพัฒนาศักยภาพด้านไหน... การควบคุมกำกับติดตามงานอย่างไร...... ช่องทางการติดต่อสื่อสาร ระบบข้อมูล/รายงาน Line Tel. Fax. เอกสาร ประชุม COC Link นิเทศติดตามงาน

การส่งรายงาน: ศูนย์ COC(อยู่ที่ รพ.)รายงานเป็นภาพรวมอำเภอ ส่งเป็นรายไตรมาส ไตรมาส 1 (ต.ค – ธ.ค) ไตรมาส 2 (ม.ค – มี.ค) ไตรมาส 3 (เม.ย – มิ.ย) ไตรมาส 4 (ก.ค – ก.ย) ประเด็นการเก็บรายงาน -กลุ่มเป้าหมายที่ต้องดูแล.......คน ได้ดูแล...........คน -จำนวนผู้รับบริการในศูนย์ COC……..คน (เขียว....คน เหลือง......คน แดง......คน) -จำนวนที่เป็นผู้สูงอายุ ...........คน พิการ...........คน อื่น ๆ ............คน -จำนวนที่อาการดีขึ้น..............คน แย่ลง...........คน คงเดิม...........คน -จำนวนที่เสียชีวิต...................คน เกิดภาวะแทรกซ้อน................คน

ขอบคุณค่ะ