เป้าหมายและตัวชี้วัดด้านผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบตารางและกราฟแสดงจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบและคะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษา จัดทำโดย นางสาว วนิดา ประจงค์ เลขที่ 49 นางสาว อรุณทิพย์
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
สารสนเทศแสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้า สอบ และคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศของผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปี
สารสนเทศผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา
````````````````` แบบประเมินจุดเน้นคุณภาพ ผู้เรียนด้านการใช้เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้
ฉวีวรรณ สุขสุนัย หน.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประธานโซนภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โซน 1
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมายและตัวชี้วัดด้านผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล

คณะทำงาน ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้อำนวยการ โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ผู้อำนวยการ โรงเรียนเลยพิทยาคม ครูโรงเรียนพะเยาพิทยาคม ครูโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ครูโรงเรียนเลยพิทยาคม นายอำนาจ เดชสุภา นายภักดี รัชตวิภาสนันท์ นายชอบ ธาระมนต์ นายธวัธ มูลเมือง นายวัชระ การสมพจน์ นางสาวชนิดา พลแสน นางสุกัญญา ไชยคิรินทร์ นางสาวพรพินิจ นิจสุข นายทวีวัฒน์ พิมพ์พัฒน์

เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล

จำนวนตัวชี้วัดของแต่ละเป้าหมาย โดยสรุปตัวชี้วัดความสําเร็จในการดําเนินงานด้านผู้เรียนของโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทั้งหมด 25 ข้อ แบ่งเป็น ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 1 “เป็นเลิศทางวิชาการ”จํานวน 5 ข้อ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 2 “สื่อสารสองภาษา”จํานวน 7 ข้อ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 3 “ลํ้าหน้าทางความคิด”จํานวน 6 ข้อ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 4 “ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์”จํานวน 4 ข้อ และ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 5 “ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก”จํานวน 3 ข้อ คุณค่าที่สําคัญสุดของการประเมินความสําเร็จในการดําเนินงานด้านผู้เรียน แต่ละตัวชี้วัดอยู่ที่การนําไปใช้ เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงตนเอง ไม่ใช่เพื่อการเปรียบเทียบว่าโรงเรียนใดดีกว่าโรงเรียนใด

เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล 1 เป้าหมายข้อ 1 เป็นเลิศทางวิชาการ : หมายถึง นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ( 5 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 1 เป็นเลิศทางวิชาการ: นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง   1.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 ม.3 หรือ ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป 1.2 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 ม.3 หรือ ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 1 เป็นเลิศทางวิชาการ: นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง   1.3 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 ม.3 หรือ ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป 1.4 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 1 เป็นเลิศทางวิชาการ: นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง  1.5 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 ม.3 หรือ ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป

เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล 2 เป้าหมายข้อ 2 สื่อสารสองภาษา : หมายถึง นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสูง เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การติดต่อสื่อสาร การนำเสนอผลงาน การโต้แย้ง ให้เหตุผลและการเจรจาความร่วมมือ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และมีทักษะ การสื่อสารภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มมากขึ้น ( 7 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 2 สื่อสารสองภาษา : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสูง เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การติดต่อ สื่อสาร การนำเสนอผลงาน การโต้แย้งให้เหตุผลและการเจรจาความร่วมมือ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และมีทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มมากขึ้น  2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1–3 และ ม.4–6 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน) 2.2 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1–3 และ ม.4–6 ที่มีผลงานการเขียนรายงานเชิงวิชาการ/บทความเป็นภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารหรือสื่อดิจิตอล ทางวิชาการ ที่จัดทำโดยโรงเรียนหรือหน่วยงาน (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเอกสารวิชาการสำหรับเผยแพร่ผลงานของนักเรียน)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 2 สื่อสารสองภาษา : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสูง เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การติดต่อ สื่อสาร การนำเสนอผลงาน การโต้แย้งให้เหตุผลและการเจรจาความร่วมมือ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และมีทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มมากขึ้น  2.3 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1–3 และ ม.4–6 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาไทยรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน) 2.4 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1–3 และ ม.4–6 ที่มีผลงานการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ/บทความเป็นภาษาไทย ตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารหรือสื่อดิจิตอลทางวิชาการ ที่จัดทำโดยโรงเรียนหรือหน่วยงาน (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเอกสารวิชาการสำหรับเผยแพร่ผลงานของนักเรียน)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 2 สื่อสารสองภาษา : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสูง เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การติดต่อ สื่อสาร การนำเสนอผลงาน การโต้แย้งให้เหตุผลและการเจรจาความร่วมมือ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และมีทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มมากขึ้น  2.5 ร้อยละของนักเรียนชั้นป.4-6 และ ม.1–3 ที่เข้าสอบวัดความสามารถด้านภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน CEFR ที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบ ได้ตามมาตรฐานของ CEFR 2.6 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.6 ที่โครงการคัดเลือกเข้าสอบวัดความสามารถ ด้านภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน เช่น TOEFL PB, TOEFL CBT, TOEFL IBT, IELTS, TOEIC หรืออื่นๆที่มีคะแนนผลการทดสอบเทียบคะแนน TOELF IBT ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 (โรงเรียนสุ่มเลือกนักเรียนประมาณร้อยละ 3 ของนักเรียนชั้น ม. 6 เข้าสอบโดยโรงเรียนหรือโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 2 สื่อสารสองภาษา : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสูง เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การติดต่อ สื่อสาร การนำเสนอผลงาน การโต้แย้งให้เหตุผลและการเจรจาความร่วมมือ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และมีทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มมากขึ้น  2.7 ร้อยละของนักเรียนชั้นป.6 ม.3 และ ม.6 ที่เรียนภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง มีทักษะการสื่อสารได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของภาษานั้น ๆ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล 3 เป้าหมายข้อ 3 ล้ำหน้าทางความคิด : หมายถึง นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะการคิดอย่างวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ได้ โดยน้อมนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( 6 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 3 ล้ำหน้าทางความคิด : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะการคิดอย่างวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ได้ โดยน้อมนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1–3 และ ม.4–6 ที่มีผลงานการศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง (Independent Study) ด้าน ICT, IoT, M2M (เกมส์/หุ่นยนต์/โปรแกรมประยุกต์/หนังสือ/แอปพลิเคชั่น) ที่ได้เข้าร่วมหรือแสดง/ประกวด/แข่งขัน/ได้รับรางวัล จากงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน) 3.2 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3 ที่มีคะแนนการทดสอบด้านการเขียนและ การอ่านภาษาไทยจากเครื่องมือกลาง ตั้งแต่ร้อยละ 50 (เน้นวัดความสามารถในการเขียนที่แสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และความมีวิจารณญาน และการวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ตามแนว PISA โดยสพฐ. จัดให้มีเครื่องมือกลางและดำเนินการทดสอบ)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 3 ล้ำหน้าทางความคิด : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะการคิดอย่างวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ได้ โดยน้อมนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.3 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3 ที่มี คะแนนการทดสอบด้านคณิตศาสตร์จากเครื่องมือกลาง ตั้งแต่ร้อยละ 50 (เน้นการวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามแนว PISA โดยสพฐ. จัดให้มีเครื่องมือกลางและดำเนินการทดสอบ) 3.4 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3 ที่มี คะแนนการทดสอบด้านวิทยาศาสตร์จากเครื่องมือกลาง ตั้งแต่ร้อยละ 50 (เน้นการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการแก้ปัญหาตามแนว PISA และความสามารถในการทำปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ โดยส่วนกลางจัดให้มีเครื่องมือกลางและดำเนินการทดสอบ)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 3 ล้ำหน้าทางความคิด : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะการคิดอย่างวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ได้ โดยน้อมนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.5 นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลที่ได้รับการสุ่มเข้าสอบโครงการ PISA มีคะแนนการสอบ ด้านการอ่าน, ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนระดับประเทศที่เข้าร่วมโครงการ PISA ในปีเดียวกัน 3.6 นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลที่ได้รับการสุ่มเข้าสอบโครงการ TIMSS มีคะแนนการผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ชั้น ป.4 และ ม.2 มีคะแนนเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนระดับประเทศที่เข้าร่วมโครงการ TIMSS ในปีเดียวกัน

เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล 4 เป้าหมายข้อ 4 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ : หมายถึง นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีทักษะความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง ( 4 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 4 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีทักษะความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง 4.1 ร้อยละของผลงานจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และภาษาต่างประเทศของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1-3 และ ม.4-6 ที่ได้รับการประเมินจากครูและผู้ทรงคุณวุฒิว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพ ในระดับดี จากงานแสดงผลงานประจำปีที่โรงเรียนจัดขึ้น

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 4 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีทักษะความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง 4.2 ร้อยละของผลงานจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และภาษาต่างประเทศที่นักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1-3 และ ม.4-ม.6 ที่ได้เข้าร่วมหรือแสดง/ประกวด/แข่งขัน หรือได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอกในระดับต่างๆ (เขตพื้นการศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/แข่งขัน)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 4 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล มีทักษะความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง 4.3 ร้อยละของผลงานจากการศึกษาด้วยตนเอง (Independent Study) ของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1-3 และ ม.4-6 ที่จัดทำขั้น ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ผ่านสื่อดิจิตอลอย่างน้อย 2 แห่ง 4.4 ร้อยละของผลงานนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1-3 และ ม.4-6 ที่เป็นผลงาน/นวัตกรรมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ได้จากการออกแบบ การประดิษฐ์และสร้างสรรค์

เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล 5 เป้าหมายข้อ 5 ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก : หมายถึง นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล เป็นผู้ที่มีจิตสาธารณะและมีจิตสำนึกในการส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีทักษะชีวิตเกี่ยวกับวิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่าง ๆ ในฐานะเป็นพลโลก ( 3 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 5 ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล เป็นผู้ที่มีจิตสาธารณะและมีจิตสำนึกในการส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีทักษะชีวิตเกี่ยวกับวิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่าง ๆ ในฐานะเป็นพลโลก 5.1 ร้อยละของจำนวนผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองที่เกี่ยวกับ การทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคมของนักเรียนชั้นป.4-6 ม.1-ม.3 และ ม.4-6 ที่นักเรียนทำขึ้นด้วยความริเริ่มของตนเอง ที่ได้รับการประเมินในระดับดีจากครู/ผู้ทรงคุณวุฒิจากการแสดงผลงานที่โรงเรียนจัดขึ้นในระดับดี (โรงเรียนจัดให้มีการแสดงและการประเมินผลงานประจำปี)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 5 ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล เป็นผู้ที่มีจิตสาธารณะและมีจิตสำนึกในการส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีทักษะชีวิตเกี่ยวกับวิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่าง ๆ ในฐานะเป็นพลโลก 5.2 ร้อยละของจำนวนผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองที่เกี่ยวกับ การทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคมของนักเรียนชั้น ป.4-6 ม.1-3 และ ม.4-6 ได้ทำขึ้นด้วยความริเริ่มของตนเอง ที่ได้เข้าร่วมหรือคัดเลือกร่วมแสดง/ประกวด/แข่งขัน หรือได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/แข่งขัน)

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียน เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 5 ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล เป็นผู้ที่มีจิตสาธารณะและมีจิตสำนึกในการส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีทักษะชีวิตเกี่ยวกับวิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่าง ๆ ในฐานะเป็นพลโลก 5.3 ร้อยละของผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ที่เกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศอื่นที่นักเรียนสนใจ นักเรียนชั้นป.4-6 ม.1-3 และ ม.4-6 ที่ได้เข้าร่วมหรือรับคัดเลือกให้เข้าร่วมแสดง/ประกวด/แข่งขัน หรือได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/แข่งขัน)

ตัวชี้วัดสำหรับการประเมิน ตาราง 6 ร้อยละของนักเรียน ป.6 ที่มีผลการสอบ O-NET วิชาต่างๆ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ในปีการศึกษา 2558, 2559 และ 2560 วิชา รายการ ปีการศึกษา เฉลี่ย 3 ปี 2558 2559 2560 ภาษาไทย ร้อยละของนักเรียนของโครงการที่มีคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป   คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

ตัวชี้วัดสำหรับการประเมิน ตาราง 9 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด ผลสําเร็จการดําเนินงานด้านผู้เรียน ข้อ 1 “เป็นเลิศทางวิชาการ” ปีการศึกษา 2561 สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในโครงการ 1.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2558 ไดรอยละ ............... ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2559 ไดรอยละ ............... ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2560 ไดรอยละ ............... ผลการดําเนินงานในภาพรวมเฉลี่ยยอนหลัง 3 ป ไดรอยละ ............... เปาหมายการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2561 รอยละ ............... เกณฑการใหคะแนนตัวชี้วัด สําหรับปการศึกษา 2561 ไดคะแนนระดับ 1 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนตํ่ากวาค่าเป้าหมายรอยละ............... ไดคะแนนระดับ 2 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ถึง ............ ไดคะแนนระดับ 3 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ถึง ............ ไดคะแนนระดับ 4 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ถึง ............ ไดคะแนนระดับ 5 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ ขึ้นไป

ตัวชี้วัดสำหรับการประเมิน ตาราง 10 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด ผลสําเร็จการดําเนินงานด้านผู้เรียน ข้อ 1 “เป็นเลิศทางวิชาการ” ปีการศึกษา 2561 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในโครงการ หน่วยงาน วิชาภาษาไทย 2558 2559 2560 เฉลี่ยระดับประเทศ 42.64 46.36 48.29 จำนวนนร.ทั้ง รร. 463 504 492 #นร.ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ย 368 393 402 คิดเป็นร้อยละ 79.48 77.98 81.71

ตัวชี้วัดสำหรับการประเมิน ตาราง 11 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด ผลสําเร็จการดําเนินงานด้านผู้เรียน ข้อ 1 “เป็นเลิศทางวิชาการ” ปีการศึกษา 2561 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในโครงการ 1.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2558 ไดรอยละ ............... ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2559 ไดรอยละ ............... ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2560 ไดรอยละ ............... ผลการดําเนินงานในภาพรวมเฉลี่ยยอนหลัง 3 ป ไดรอยละ ............... เปาหมายการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2561 รอยละ ............... เกณฑการใหคะแนนตัวชี้วัด สําหรับปการศึกษา 2561 ไดคะแนนระดับ 1 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนตํ่ากวาค่าเป้าหมายรอยละ............... ไดคะแนนระดับ 2 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ถึง ............ ไดคะแนนระดับ 3 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ถึง ............ ไดคะแนนระดับ 4 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ถึง ............ ไดคะแนนระดับ 5 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ............ ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่โรงเรียนดําเนินการเก็บข้อมูล ตาราง 12 ตัวชี้วัดที่โรงเรียนเป็นผู้ดําเนินการเก็บข้อมูลผลการดําเนินงานประจําปีการศึกษา 2561 ระดับประถมศึกษา ตัวชี้วัด 2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.4-6 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน) ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2560 ไดรอยละ ……….. เปาหมายปีการศึกษา 2561: ตั้งค่าเป้าหมายรอยละ …………….….. ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ ……………………... เกณฑการใหคะแนนตัวชี้วัด สําหรับปการศึกษา 2561 ไดคะแนนระดับ 1 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนตํ่ากวาค่าเป้าหมายรอยละ……….. ไดคะแนนระดับ 2 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 3 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 4 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 5 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่โรงเรียนดําเนินการเก็บข้อมูล ตาราง 13 ตัวชี้วัดที่โรงเรียนเป็นผู้ดําเนินการเก็บข้อมูลผลการดําเนินงานประจําปีการศึกษา 2561 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวชี้วัด 2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.1–3 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน) ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2560 ไดรอยละ ……….. เปาหมายปีการศึกษา 2561: ตั้งค่าเป้าหมายรอยละ …………….….. ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ ……………………... เกณฑการใหคะแนนตัวชี้วัด สําหรับปการศึกษา 2561 ไดคะแนนระดับ 1 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนตํ่ากวาค่าเป้าหมายรอยละ……….. ไดคะแนนระดับ 2 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 3 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 4 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 5 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่โรงเรียนดําเนินการเก็บข้อมูล ตาราง 14 ตัวชี้วัดที่โรงเรียนเป็นผู้ดําเนินการเก็บข้อมูลผลการดําเนินงานประจําปีการศึกษา 2561 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัด 2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.4–6 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน) ผลการดําเนินงานในภาพรวมปการศึกษา 2560 ไดรอยละ ……….. เปาหมายปีการศึกษา 2561: ตั้งค่าเป้าหมายรอยละ …………….….. ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ ……………………... เกณฑการใหคะแนนตัวชี้วัด สําหรับปการศึกษา 2561 ไดคะแนนระดับ 1 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนตํ่ากวาค่าเป้าหมายรอยละ……….. ไดคะแนนระดับ 2 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 3 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 4 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ถึง ……….. ไดคะแนนระดับ 5 ถาผลการดําเนินงานของโรงเรียนไดตั้งแตรอยละ ………..ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่ประเมินจากเครื่องมือกลาง ตาราง 15 เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วยเครื่องมือกลาง ปีการศึกษา 2561 ระดับประถมศึกษา ตัวชี้วัด 2.5 ร้อยละของนักเรียนชั้นป.4-6 ของโรงเรียนมาตรฐานสากลที่เข้าสอบวัดความสามารถด้านภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน CEFR ที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบได้ตามมาตรฐานของ CEFR ผลการดำเนินงาน : ปีการศึกษา 2560 ได้ร้อยละ............... เป้าหมายปีการศึกษา 2561 : ตั้งค่าเป้าหมายร้อยละ............ ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ................. เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีการศึกษา 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ ................ ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ...........ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่ประเมินจากเครื่องมือกลาง ตาราง 16 เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วยเครื่องมือกลาง ปีการศึกษา 2561 ระดับมัธยมศีกษาตอนต้น ตัวชี้วัด 2.7 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.1–3 ของโรงเรียนมาตรฐานสากลที่เข้าสอบวัดความสามารถด้านภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน CEFR ที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบได้ตามมาตรฐานของ CEFR ผลการดำเนินงาน : ปีการศึกษา 2560 ได้ร้อยละ............... เป้าหมายปีการศึกษา 2561 : ตั้งค่าเป้าหมายร้อยละ............ ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ................. เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีการศึกษา 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ ................ ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ...........ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่ประเมินจากเครื่องมือกลาง ตาราง 17 เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วยเครื่องมือกลาง ปีการศึกษา 2561 ระดับมัธยมศีกษาตอนปลาย ตัวชี้วัด 2.6 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.6 ของโรงเรียนมาตรฐานสากลที่โครงการคัดเลือกเข้าสอบวัดความสามารถด้านภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน เช่น TOEFL PB, TOEFL CBT, TOEFL IBT, IELTS, TOEIC หรืออื่นๆที่มีคะแนนผลการทดสอบเทียบคะแนน TOELF IBT ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 (โรงเรียนสุ่มเลือกนักเรียนประมาณร้อยละ 3 ของนักเรียนชั้น ม. 6 เข้าสอบโดยโรงเรียนหรือโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย) ผลการดำเนินงาน : ปีการศึกษา 2560 ได้ร้อยละ............... เป้าหมายปีการศึกษา 2561 : ตั้งค่าเป้าหมายร้อยละ............ ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ................. เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีการศึกษา 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ ................ ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ...........ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับ PISA และ TIMSS เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายข้อ 3 ล้ำหน้าทางความคิด : นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทักษะการคิดอย่างวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) แก้ปัญหาและใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ได้ โดยน้อมนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.5 นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลที่ได้รับการสุ่มเข้าสอบโครงการ PISA มีคะแนนการสอบ ด้านการอ่าน, ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนนานาชาติที่เข้าร่วมโครงการ PISA ในปีเดียวกัน การอ่าน ผลการเข้าร่วมโครงการครั้งที่ผ่านมา พ.ศ. 2558 : ......... เป้าหมายผลการเข้าร่วมโครงการปี พ.ศ. 2561 ............ ผลการเข้าร่วมโครงการปี พ.ศ. 2561 ได้................ เกณฑ์การให้คะแนนผลการเข้าร่วมโครงการปี พ.ศ. 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่า ................ ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ ....... ถึง ....... ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ ...........ขึ้นไป

เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงาน ใช้ผลการดำเนินงานเฉลี่ยคะแนน O-NET ย้อนหลัง 3ปี (มีเศษให้ปัดขึ้นให้เป็นจํานวนเต็ม) เป็นเป้าหมายการดำเนินงาน ถ้าผลการดำเนินงานได้เท่ากับผลการดำเนินงานของปีสูงสุด (มีเศษให้ปัดขึ้นให้เป็นจํานวนเต็ม) ขึ้นไป ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานได้ตั้งแต่ค่ากลางของคะแนนระดับ 3 และระดับ 5 ขึ้นไป ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานได้เท่ากับเป้าหมายการดำเนินงานที่ตั้งไว้ขึ้นไป ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานได้เท่ากับผลการดำเนินงานของปีตํ่าสุดขึ้นไปจนถึงค่ากลางของคะแนนระดับ 3 และ ระดับ 1 ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานได้ตํ่ากว่าผลการดำเนินงานของปีตํ่าสุด (มีเศษให้ปัดขึ้นให้เป็นจํานวนเต็ม) ได้คะแนนระดับ 1

ตัวอย่าง วิธีกำหนดค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน 1. โรงเรียนรวบรวมขอมูลรอยละของนักเรียนชั้น ม.1-3 ของโรงเรียนที่มีความสามารถฟัง พูด อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบตาง ๆ อยูในระดับดี โดยการประเมินจากครูผูสอนและผูทรงคุณวุฒิในปการศึกษา 2560 สมมติวาไดเปนรอยละ 15.50 นําผลรอยละ 15.50 มาเติมในชองผลการดําเนินงานปการศึกษา 2560 ดังนี้ รายการ เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด 2.1 2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.1–3 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน)” ผลการดำเนินงาน : ปีการศึกษา 2560 ได้ร้อยละ.......15.50...... เป้าหมายปีการศึกษา 2561 : ตั้งค่าเป้าหมายร้อยละ............ ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ................. เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีการศึกษา 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ ........................... ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......... ถึง .............. ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......... ถึง .............. ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......... ถึง .............. ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......................ขึ้นไป

เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน ตัวอย่าง วิธีกำหนดค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน 2. โรงเรียนประชุมปรึกษาหารือกันภายในโรงเรียนและวางแผนร่วมกันว่า ในปีการศึกษา 2561 โรงเรียนมีเป้าหมายที่จะยกระดับร้อยละของนักเรียนชั้น ม.1-3 ที่มีทักษะความสามารถด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ อยู่ในระดับดี สมมุติตกลงตั้งเป้าหมายเป็นร้อยละ 17.00 รายการ เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด 2.1 2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.1–3 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน)” ผลการดำเนินงาน : ปีการศึกษา 2560 ได้ร้อยละ.......15.50...... เป้าหมายปีการศึกษา 2561 : ตั้งค่าเป้าหมายร้อยละ......17.00...... ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ................. เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีการศึกษา 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ ........................... ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......... ถึง .............. ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......... ถึง .............. ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......... ถึง .............. ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ ......................ขึ้นไป

ตัวอย่าง วิธีกำหนดค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน 3. เมื่อกําหนดคาเปาหมายปการศึกษา 2561 แลว ขั้นตอไปคือการกําหนดเกณฑการใหคะแนนความสําเร็จในการดําเนินงานของตัวชี้วัดนี้ โดยใชค่าผลงานป 2560 และเปาหมายปการศึกษา 2561 ที่ตั้งไวเปนขอมูลในการกําหนดเกณฑการใหคะแนน รายการ เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด 2.1 2.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.1–3 ที่ได้เข้าร่วมหรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับด้านการฟัง/พูด/อ่าน/เขียน ภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ ในงานที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก (เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/ประกวด/แข่งขัน)” ผลการดำเนินงาน : ปีการศึกษา 2560 ได้ร้อยละ.......15.50...... เป้าหมายปีการศึกษา 2561 : ตั้งค่าเป้าหมายร้อยละ......17.00...... ผลการดำเนินงานปีการศึกษา 2561 : ได้ร้อยละ.........18.00.(ได้คะแนนระดับ 3)....... เกณฑ์การให้คะแนนผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีการศึกษา 2561 ได้คะแนนระดับ 1 ถ้าผลการดำเนินงานต่ำกว่าร้อยละ 15.00 ได้คะแนนระดับ 2 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ 15.00 ถึง 16.99 ได้คะแนนระดับ 3 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ 17.00 ถึง 18.99 ได้คะแนนระดับ 4 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ 19.00 ถึง 20.99 ได้คะแนนระดับ 5 ถ้าผลการดำเนินงานตั้งแต่ร้อยละ 21 ขึ้นไป

บทสรุป โดยสรุปตัวชี้วัดความสําเร็จในการดําเนินงานด้านผู้เรียนของโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลมีทั้งหมด 25 ข้อ แบ่งเป็น ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 1 “เป็นเลิศทางวิชาการ”จํานวน 5 ข้อ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 2 “สื่อสารสองภาษา”จํานวน 7 ข้อ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 3 “ลํ้าหน้าทางความคิด”จํานวน 6 ข้อ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 4 “ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์”จํานวน 4 ข้อ และ ตัวชี้วัดเป้าหมายที่ 5 “ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก”จํานวน 3 ข้อ

คุณค่าที่สําคัญสุดของการประเมินความสําเร็จในการดําเนินงานด้านผู้เรียน แต่ละตัวชี้วัดอยู่ที่การนําไปใช้ เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงตนเอง ไม่ใช่เพื่อการเปรียบเทียบว่าโรงเรียนใดดีกว่าโรงเรียนใด

ขอบคุณครับ