สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7 สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7 อาคารเลขที่ ๒๘๕ / ๑๙ ซ.มิตรภาพ ๑๕ ถ.มิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๔-๒๒๒๗๘๗ ๐๔๔-๒๒๒๗๘๘ โทรสาร ๐๔๔-๒๒๒๗๘๙ www.stb7.org
เขตรับผิดชอบ สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7 จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์
การจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความรู้ทั่วไปของ “การบัญชี”
ความหมายของบัญชี การบัญชี การจดบันทึกรายการ จัดประเภทรายการ สรุปผลรายการ นำไปใช้ประโยชน์
บัญชี “ การจดบันทึก การจำแนก การสรุปผลและการรายงานเหตุการณ์เกี่ยวกับการเงินโดยใช้หน่วยเงินตรา รวมทั้งการแปลความหมาย ”
ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี 1. ทราบถึงความก้าวหน้าของกิจการ และประสบการณ์ในการ ดำเนินงานของกองทุนฯ 2. ทราบถึงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกองทุนฯ 3. ให้คณะกรรมการใช้ข้อมูลเพื่อประกอบการวางแผนการ ควบคุม และตัดสินใจ 4. ให้ทราบถึงข้อบกพร่องในการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อที่จะ เป็นแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานในอนาคต
ข้อใดต่อไปนี้ตรงกับความหมายของคำว่า “บัญชี” 1. นาย ก ฝากเงินสัจจะสะสม 2. นาย ข ได้รับอนุมัติให้กู้เงินกองทุนฯ 3. นาย ค จ่ายค่ารถ 20 บาท ไปตลาดซื้อ กับข้าวรวมทั้งสิ้น 300 บาท
หมวดบัญชี
หมวดบัญชี สินทรัพย์ 1 รายได้ 4 หนี้สิน 2 ค่าใช้จ่าย 5 ทุน 3
สินทรัพย์ = มีมูลค่า วัดเป็นตัวเงินได้ และเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ใน อนาคต เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ สินทรัพย์ = มีมูลค่า วัดเป็นตัวเงินได้ และเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ใน อนาคต เครื่องใช้สำนักงาน อาคาร บ้าน ที่ดิน รถยนต์
หนี้สิน = เงินหรือสิ่งของที่ได้มา แต่ต้องใช้คืนในอนาคต
ทุน = เงินหรือสิ่งของที่เจ้าของนำมาใช้ในการดำเนินงาน ปลอดจากหนี้สิน
รายได้ = เงินหรือสิ่งของที่ได้มาจากการดำเนินงาน ไม่ มีข้อผูกพันว่าต้องจ่ายคืน
ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าเครื่องเขียน ค่าใช้จ่าย = เงินหรือสิ่งของที่เจ้าของนำมาใช้จ่ายในการดำเนินงาน มีผลทำให้ทุนลดลง ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าเบี้ยประชุม ดอกเบี้ยจ่าย
หมวดบัญชีสำคัญอย่างไร ความสำคัญของการจัดหมวดบัญชี เพื่อช่วยในการจัดระบบ หรือระเบียบของข้อมูลให้เป็นไปอย่างถูกต้อง และสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ
เลขที่บัญชีในหมวดบัญชี ปกติแต่ละหมวดบัญชีจะมีชื่อและเลขที่บัญชีกำกับ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจดบันทึกบัญชี และเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบอ้างอิงโดยมีหลักเกณฑ์กำหนดดังนี้
หมวดบัญชี กับ เลขที่บัญชี ในการกำหนดเลขที่บัญชี โดยทั่วไปจะมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ สินทรัพย์ กำหนดให้เลขที่บัญชีขึ้นต้นด้วย 1 หนี้สิน กำหนดให้เลขที่บัญชีขึ้นต้นด้วย 2 ทุน กำหนดให้เลขที่บัญชีขึ้นต้นด้วย 3 รายได้ กำหนดให้เลขที่บัญชีขึ้นต้นด้วย 4 ค่าใช้จ่าย กำหนดให้เลขที่บัญชีขึ้นต้นด้วย 5
เลขที่บัญชีที่กำหนดขึ้นใช้จะเป็นเลขกี่หลักก็ได้ แต่อย่างน้อยควรเป็น 2 หลัก โดยเลขที่อยู่อันดับแรก จะแสดงหมวดบัญชี และเลขที่อยู่ลำดับถัดมาจะแสดงลำดับที่อยู่ในแต่ละหมวดบัญชี เช่น บัญชีเงินสด เลขที่บัญชี คือ 11 เลขที่ดังกล่าวแสดงความหมายดังนี้ เลขที่ 1 ที่อยู่ลำดับแรก แสดงให้ทราบว่า เป็นบัญชีที่อยู่ในหมวดสินทรัพย์ เลข 1 ลำดับถัดไป 11 แสดงให้ทราบว่าเป็นบัญชีที่ อยู่ลำดับที่หนึ่งในหมวดสินทรัพย์นั้น
เลขที่บัญชีอยู่ตรงไหน อยากรู้จัง!
บัญชี/บัญชีแยกประเภท ตัวอย่าง บัญชี/บัญชีแยกประเภท ชื่อบัญชี…………………… เลขที่…. ว.ด.ป. รายการ หน้าบัญชี รับ จ่าย คงเหลือ
ชื่อบัญชีเงินฝากธนาคาร (1) เลขที่ 11 ว.ด.ป. 2545 รายการ หน้าบัญชี รับ จ่าย คงเหลือ ต.ค 31 สมุดรายรับ ร.ร 1 1,000,000 -
ชื่อบัญชีลูกหนี้เงินกู้ (1) เลขที่ 12 ว.ด.ป. 2545 รายการ หน้าบัญชี รับ จ่าย คงเหลือ ต.ค 31 สมุดรายจ่าย ร.ร 1 - 600,000
การแสดงเลขที่บัญชีในงบทดลอง กองทุนหมู่บ้านหัวถนน ม.5 งบทดลอง วันที่ 31 ธันวาคม 2545 ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี ยอดคงเหลือบัญชี หมวดสินทรัพย์ / ค่าใช้จ่าย หมวดหนี้สิน/ทุน/ รายได้ เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้เงินกู้ เงินกองทุน ดอกเบี้ยเงินกู้ ดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคาร 11 12 31 41 42 354,400 660,000 1,014,400 1,000,000 13,400 1,000
งบการเงิน
โครงสร้างงบการเงิน 1 งบทดลอง 2 3 งบกำไรขาดทุน งบดุล
5 หมวด 2 งบ สินทรัพย์ งบดุล หนี้สิน ทุน งบกำไรขาดทุน รายได้ ค่าใช้จ่าย
กองทุนหมู่บ้านหญ้าแพรก หมู่ 1 บัญชีชุดที่ 1 กองทุนหมู่บ้านหญ้าแพรก หมู่ 1 งบทดลอง วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี ยอดคงเหลือบัญชีหมวดสินทรัพย์/ค่าใช้จ่าย ยอดคงเหลือบัญชีหมวดหนี้สิน/ทุน/รายได้ เงินฝากธนาคาร เงินกองทุน ดอกเบี้ยเงินกู้ ดอกเบี้ยเงินฝากฯ 11 31 354,400 งบดุล ลูกหนี้เงินกู้ 12 660,000 1,000,000 13,400 งบกำไรขาดทุน 41 42 1,000 1,014,400 1,014,400
กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน... งบกำไรขาดทุน กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน... สำหรับปี สิ้นสุด........ งบกำไรขาดทุน = แสดงผลการดำเนินงาน ประกอบด้วย 1. รายได้ 2. ค่าใช้จ่าย รายได้ มากกว่า ค่าใช้จ่าย = กำไรสุทธิ รายได้ น้อยกว่า ค่าใช้จ่าย = ขาดทุนสุทธิ ทำให้ทุนเพิ่ม ทำให้ทุนลด
นำไปบวกเพิ่มกำไรสะสมในส่วนของทุนที่งบดุล และแสดงไว้ที่ บัญชีกำไรสะสม บัญชีชุดที่ 1 กองทุนหมู่บ้านหญ้าแพรก หมู่ 1 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บาท รายได้ ดอกเบี้ยเงินกู้ 13,400 ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 1,000 รวมรายได้ 14,400 นำไปบวกเพิ่มกำไรสะสมในส่วนของทุนที่งบดุล และแสดงไว้ที่ บัญชีกำไรสะสม ค่าใช้จ่าย - กำไรสุทธิ 14,400
บัญชีกำไรสะสมและการจัดสรรประจำปี(1) ยกยอดจากงบกำไรขาดทุน 1 แสดงการยกยอดกำไรขาดทุนจากงบกำไรขาดทุน บัญชีกำไรสะสมและการจัดสรรประจำปี(1) วัน เดือน ปี รายการ กำไรขาดทุน กำไรสะสม รายการจัดสรร เงินประกันความเสี่ยง เงินสมทบกองทุน เงินเฉลี่ยคืน ค่าตอบแทนกรรม การ เงินทุน สวัส ดิการ เงินทุน สาธารณ ประโยชน์ เงินทุนเพื่อ การศึกษา อื่นๆ 2545 ธ.ค. 31 ยกยอดจากงบกำไรขาดทุน 14,400
กองทุนหมู่บ้านหญ้าแพรก หมู่ 1 บัญชีชุดที่ 1 กองทุนหมู่บ้านหญ้าแพรก หมู่ 1 งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บาท สินทรัพย์ เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้เงินกู้ รวมสินทรัพย์ 354,400 660,000 1,014,400 ทุน เงินกองทุน กำไรสะสม กำไรสะสมยกมา - บวก กำไรสุทธิประจำปี รวมส่วนของทุน 1,000,000 14,400 14,400 1,014,400
สมการบัญชี หนี้สิน สินทรัพย์ ทุน
งบดุล หนี้สิน สินทรัพย์ 500,000 ทุน 1,500,000 1,000,000 อาคาร บ้าน ที่ดิน 500,000 ทุน 1,500,000 1,000,000
ที่มา ที่ไป มาตรฐานบัญชีโดยทั่วไป สู่การเป็น คู่มือบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ที่มา ที่ไป มาตรฐานบัญชีโดยทั่วไป สู่การเป็น คู่มือบัญชีกองทุนหมู่บ้าน
ตัวย่อที่ใช้ในการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ร.ร. ย่อมาจาก สมุดรายรับกองทุน ร.จ. ย่อมาจาก สมุดรายจ่ายกองทุน ส.ร. ย่อมาจาก สรุปบัญชีรายได้ประจำปี ส.จ. ย่อมาจาก สรุปบัญชีรายจ่ายประจำปี
งวดบัญชี งวดบัญชีเท่ากับ 12 เดือน งวดบัญชีกองทุนหมู่บ้านกำหนดตามปฏิทิน ( 1 มกราคม – 31 ธันวาคม ) เว้นแต่กองทุนที่มีธุรกรรมกู้ยืม ชำระเงินต้นและดอกเบี้ย ปีละครั้ง อนุโลม ให้ใช้งวดบัญชีเริ่มวันที่ 1 ของเดือนถัดไปที่มีธุรกรรม
ง่วงหรือยัง ???
การบันทึก “บัญชีกองทุนหมู่บ้านฯ”
ด้วยความขอบคุณ....