การคุ้มครองภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 (แก้ไข) เจ้าของลิขสิทธิ์(ที่เป็นผู้สร้างสรรค์งานอันมีลิขสิทธิ์) (ห มวด 1) (ผู้สร้างสรรค์ คือ ผู้ทำหรือผู้ก่อให้เกิดงานสร้างสรรค์งานอันมีลิขสิทธิ์) นักแสดงไทย (หมวด 2) นักแสดงต่างชาติ (หมวด 5) (นักแสดง คือ ผู้แสดง นักดนตรี นักร้อง นักเต้น นักรำ และผู้แสดงท่าทาง ร้อง กล่าว พากย์ แสดง ตามบทหรือในลักษณะอื่นใด) ประเภทงานอันมีลิขสิทธิ์ (ม. 6) วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม คนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรือ งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ ศิลปะ
ลักษณะการคุ้มครองลิขสิทธิ์ คุ้มครองการแสดงออก หรือรูปแบบการแสดงออกของงานอันมีลิขสิทธิ์ (an expression of ideas) โดยไม่คลุม ถึงความคิด หรือขั้นตอน กรรมวิธีหรือระบบ หรือวิธีใช้หรือทำงาน หรือแนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ ทั้งนี้ไม่ว่าจะมีคุณค่าทางศิลปะหรือไม่ก็ตาม (มาตรา 4 วรรค 8 และ มาตรา 6) เงื่อนไขการได้ลิขสิทธิ์ไทยของผู้สร้างสรรค์งาน (ม. 8) ยังไม่ได้โฆษณางาน ม. 8(1) โฆษณางานแล้ว ม. 8(2) มีสัญชาติไทย หรือ อยู่ในประเทศไทย หรือ มีสัญชาติหรืออยู่ในประเทศที่เป็นภาคีอนุสัญญา คุ้มครองลิขสิทธิ์ที่ประเทศไทยเป็นภาคี ทั้งนี้ ตลอดเวลาหรือส่วนใหญ่ในการสร้างสรรค์งาน -โฆษณาครั้งแรกในประเทศไทย หรือในประเทศที่เป็นภาคี ในอนุสัญญาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่ไทยเป็นภาคี -โฆษณาครั้งแรกในประเทศอื่นที่มิใช่ในประเทศข้างต้น แต่ กลับมาโฆษณาในไทยและประเทศภาคีฯ ภายใน 30 วัน -เป็นผู้สร้างสรรค์ตาม (1) ในขณะที่มีการโฆษณาครั้งแรก
การเป็นงานสร้างสรรค์ / วิริยะอุตสาหะ ทป. 116/2546 ไพจิตร บุญญพันธ์ v. ราชบัณฑิตยสถาน ทป. 58/2547 สินี เต็มสงสัย v. นิเวศน์ กันไทราษฎร์ ทป. 78/2545 หยั่นหว่อหยุ่น v. บริษัทผลิตอาหาร ฎ. 2189-2190 ภาพนก / สัญญาจ้าง / ผู้สร้างสรรค์ / ดนตรีกรรม: ฎ. 826/2548 Pro-Media Mart Co v. Soken Electronic ฎีกาที่ 9599/2558 จำเลยนำเอาของเพลงของผู้เสียหายซึ่งมีผู้ทำซ้ำโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้เสียหายไปทำซ้ำโดยบันทึกลงในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บรรจุโปรแกรมคาราโอเกะ มาตรา 31 ฎีกาที่ 2659/2559 การพิสูจน์ – รู้/มีเหตุอันควรรู้
Article 31: ฎีกาที่ 2659/2559 โจทก์บรรยายฟ้องความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่นเพื่อการค้าแต่เพียงว่า จำเลยทั้งสามละเมิดลิขสิทธิ์ในงานสร้างสรรค์ประเภทงานดนตรีกรรม งานบันทึกเสียงและงานโสตทัศนวัสดุของผู้เสียหาย โดยนำแผ่นซีดีที่บันทึกเนื้อร้อง ทำนองเพลง และภาพคาราโอเกะ ซึ่งได้มีผู้ทำซ้ำหรือดัดแปลงขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้เสียหายออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยจำเลยทั้งสามรู้อยู่แล้วว่าการเผยแพร่งานดังกล่าวของผู้เสียหายต่อสาธารณชนเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้เสียหาย แต่โจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้องว่าจำเลยทั้งสามรู้อยู่แล้วหรือมีเหตุอันควรรู้ว่างานดังกล่าวได้ทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้เสียหาย ฟ้องของโจทก์ในความผิดดังกล่าวจึงเป็นฟ้องที่ขาดองค์ประกอบของความผิดตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 70 วรรคสอง ประกอบมาตรา 31 (2) ฎีกาที่ 10546/2558
จ้างแรงงาน/จ้างทำของโดยหน่วยงานของรัฐ การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ และ การจ้างงาน ลูกจ้างเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ถ้ามิได้ตกลงไว้เป็นอย่างอื่น จ้างแรงงาน ม. 9 ผู้สร้างสรรค์งานเป็นลูกจ้าง ผู้ว่าจ้างเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ถ้ามิได้ตกลงไว้เป็นอย่างอื่น จ้างทำของ ม. ๑๐ ผู้สร้างสรรค์งานเป็นผู้รับจ้าง จ้างแรงงาน/จ้างทำของโดยหน่วยงานของรัฐ ม. ๑๔ หน่วยงานของรัฐเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ถ้ามิได้ตกลงไว้เป็นอย่างอื่น
ฎีกาที่ 11118/2558 จำเลยที่ 1 อยู่ในฐานะผู้สร้างสรรค์ร่วม ทั้งในวงวิชาการนั้นพึงมีบรรทัดฐานด้านจรรยาบรรณของนักวิชาการในระดับสากลเช่นเดียวกัน กล่าวคือ การที่โจทก์ร่วมซึ่งเป็นผู้วิจัยหรือผู้เขียนผลงานทางวิชาการนำผลงานทางวิชาการของผู้สร้างสรรค์ร่วมกันมาใช้ในผลงานทางวิชาการของตน ก็ควรอย่างยิ่งที่โจทก์ร่วมจะได้บอกกล่าวผู้สร้างสรรค์ร่วมกันทุกคนรวมทั้งจำเลยที่ 1 ว่าจะนำบทความที่เขียนร่วมกันนั้นไปใช้ในดุษฎีนิพนธ์ของโจทก์ร่วม แต่ในฐานที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้เขียนร่วมในผลงานวิชาการในรูปแบบงานนิพนธ์อันเป็นงานวรรณกรรมซึ่งมีลิขสิทธิ์ดังกล่าว จำเลยที่ 1 ย่อมได้รับการปกป้องคุ้มครองในฐานะผู้สร้างสรรค์งาน
การดัดแปลงงานลิขสิทธิ์ (ม. ๑๑) การรวบรวมหรือประกอบเข้าด้วยกันโดย การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์จากงานอันมีลิขสิทธิ์โดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ การดัดแปลงงานลิขสิทธิ์ (ม. ๑๑) (ดัดแปลง – ม. ๔) การรวบรวมหรือประกอบเข้าด้วยกันโดย มิได้ลอกเลียนบุคคลอื่น (ม. ๑๒) ผู้ดัดแปลงมีลิขสิทธิ์ในงานที่ได้ดัดแปลง ทั้งนี้ไม่กระทบสิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม ผู้รวบรวมฯมีลิขสิทธิ์ในงานที่ได้รวบรวม ทั้งนี้ไม่กระทบสิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม
ผู้สร้างสรรค์งานลิขสิทธิ์ การคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีสิทธิแต่ผู้เดียวดังต่อไปนี้ (ม. ๑๕) คือ ๑. ทำซ้ำหรือดัดแปลง, ๒. เผยแพร่ต่อ สาธารณชน, ๓. ให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศน วัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง, ๔. ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น เจ้าของลิขสิทธิ์ ม. ๑๕, ๑๖, ๑๗ มีสิทธิแต่ผู้เดียวในการอนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม ๑, ๒ และ ๓ โดยมีเงื่อนไข หรือไม่ก็ได้ทั้งนี้ต้องไม่จำกัดการแข่งขันอย่างไม่เป็นธรรม (ม. ๑๕(๕)) และ สามารถอนุญาตฯให้หลายคนถ้ามิได้กำหนดห้ามไว้ (ม. ๑๖) โอนลิขสิทธิ์ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยมีกำหนดเวลาหรือตลอดอายุลิขสิทธิ์ ถ้ามิได้กำหนดเวลาให้มีระยะเวลา ๑๐ ปี (ม. ๑๗) ธรรมสิทธิ (moral rights) สิทธิปกป้องชื่อเสียงเกียรติคุณผู้สร้างสรรค์ ตลอดอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ ผู้สร้างสรรค์งานลิขสิทธิ์ ม. ๑๘
อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ (ตามประเภทของงาน) วรรณกรรม, นาฏกรรม, ดนตรีกรรม ศิลปกรรม(ที่มิใช่ศิลปประยุกต์ และภาพถ่าย), งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี, ศิลปะ, วิทยาศาสตร์ ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และ มีต่อไปอีก ๕๐ ปี นับแต่เสียชีวิต (ม. ๑๙) ๕๐ ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งาน ถ้าโฆษณางานระหว่างนั้น ๕๐ ปี นับแต่โฆษณาครั้งแรก (ม. ๒๑/๒๓) ภาพถ่าย, โสตทัศนวัสดุ, ภาพยนตร์, สิ่งบันทึกเสียง, งานแพร่เสียงแพร่ภาพ, ลิขสิทธิ์ในงานที่สร้างสรรค์ตาม ม. ๑๔ ๒๕ ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งาน ถ้าโฆษณางานระหว่างนั้น ๒๕ ปี นับแต่โฆษณาครั้งแรก (ม. ๒๒) ศิลปประยุกต์
ฎ. 826/48 Pro-Media Mart v. Soken Electronic คดีละเมิดลิขสิทธิ์ (บางส่วน) ที่น่าสนใจ ฎ. 826/48 Pro-Media Mart v. Soken Electronic ฏ. 2572/48 มกุฏ มกุฏอรดี กับ บริษัทไฟว์สตาร์โปรดักชั่น (ดัดแปลง/โสตทัศนวัสดุ/แผ่นฟิล์ม) ฏ. 2645/48 อัยการ กับ ชวลิต (การล่อซื้อ) ฏ. 1908/46 ม.เกษตร กับ พนักงาน (สัญญาจ้าง/ เจ้าของลิขสิทธิ์) ฏ. 2189-2190/48 (ภาพนก – สัญญาจ้าง, วิริยะอุตสาหะ) + ทป. 78/45 หยั่นหว่อหยุ่น ทป. 58/47 Expression of Idea สินี เต็มสงสัย กับ นิเวศน์ กันไทยราษฏร์
ฎีกาที่ 8660/2558 จำเลยทำซ้ำ ดัดแปลง โดยผลิตแผ่นดีวีดี วีซีดี และเอ็มพี 3 งานดนตรีกรรมภาพยนตร์ วีดิทัศน์ สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุของผู้เสียหายทั้งยี่สิบสี่โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้เสียหายทั้งยี่สิบสี่ แล้วนำออกขาย เสนอขาย และมีไว้เพื่อขายแก่บุคคลทั่วไปอันเป็นการกระทำเพื่อแสวงหากำไรในทางการค้า โดยจำเลยรู้อยู่แล้วว่างานดังกล่าวเป็นงานที่ทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้เสียหายทั้งยี่สิบสี่และโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เสียหายทั้งยี่สิบสี่ การกระทำที่จะเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.2551 มาตรา 78 ประกอบมาตรา 25 วรรคหนึ่ง และมาตรา 81 ประกอบมาตรา 47 วรรคหนึ่ง ผู้กระทำความผิดต้องมีหน้าที่นำภาพยนตร์และวีดิทัศน์ที่จะนำออกฉาย ให้เช่า แลกเปลี่ยน หรือจำหน่ายในราชอาณาจักรไปผ่านการตรวจพิจารณาและได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวีดิทัศน์ก่อน
Kanya Hirunwattanapong 2008 ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ (a three-step test) ไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์ ไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร การกระทำที่เป็นข้อยกเว้น ๑. วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร ๒. ใช้เพื่อประโยชน์ตนเองและบุคคลอื่นในครอบครัวหรือญาติสนิท ๓. ติชม วิจารณ์ แนะนำผลงานโดยรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ๔. เสนอรายงานข่าวทางสื่อฯโดยรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ๕. ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดงหรือทำให้ปรากฏเพื่อประโยชน์การพิจารณาของศาลฯ ๖. ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดงหรือทำให้ปรากฏโดยผู้สอน เพื่อประโยชน์ในการสอน อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร ๗. ทำซ้ำ ดัดแปลงบางส่วนของงาน ตัดทอนทำบทสรุปโดยผู้สอนหรือสถาบันศึกษา เพื่อ แจกจ่าย หรือจำหน่ายแก่ผู้เรียน แต่ต้องไม่หากำไร ๘. ใช้งานลิขสิทธิ์เป็นส่วนในการถาม-ตอบในการสอบ Kanya Hirunwattanapong 2008
แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 มาตรา 28/1 มาตรา 32/1 มาตรา 32/2 มาตรา 32/3 ข้อมูลการบริหารสิทธิและมาตรการทางเทคโนโลยี มาตรา 53/1-5
Kanya Hirunwattanapong 2008 กฎหมายลิขสิทธิ์ ให้ความคุ้มครองนักแสดง – เรียกว่า “สิทธินักแสดง” สิทธินักแสดง ไม่ใช่ ลิขสิทธิ์ นักแสดง หมายถึง ผู้แสดง นักดนตรี นักร้อง นักเต้น นักรำ และผู้ซึ่งแสดงท่วงท่า ร้อง กล่าว พากย์ แสดงตามบทหรือในลักษณะอื่นใด สิทธินักแสดง มีสิทธิบันทึกงานแสดงที่ยังไม่มีการบันทึก/ทำซ้ำสิ่งบันทึกนั้น รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม (จากการนำบันทึกการแสดงออกเผยแพร่เพื่อการค้า) สิทธิรับค่าตอบแทนที่เป็นธรรมมีอายุ 50 ปี นับแต่สิ้นปีปฎิทินของปีที่แสดง สิทธินักแสดงโอนได้/เป็นมรดก Kanya Hirunwattanapong 2008
นางแบบ เป็นนักแสดงหรือไม่ ? ทป. 47/2549 นางสาวเมทินี กิ่งโพยม กับพวก v. บริษัทแดพเพอร์เจนเนอรัล
Copyright & New Era of Communication Technology WIPO Copyright Treaty (WCT) is a special agreement under the Berne Convention which deals with the protection of works and the rights of their authors in the digital environment. WIPO Performances and Phonograms Treaty (WPPT) Beijing Treaty on Audiovisual Performances 2012 http://www.wipo.int/treaties/en/ip/wct/ Kanya Hirunwattanapong, 2017 April
Kanya Hirunwattanapong, 2017 April Exceptions: Article 13, TRIPS “Members shall confine limitations or exceptions to exclusive rights to certain special cases which do not conflict with a normal exploitation of the work and do not unreasonably prejudice the legitimate interests of the right holder.” – The concept of Fair Use Thailand Copyright Act goes along the same line with that of the TRIPS. → Fair Use (Article 32 Thailand Copyright Act) → Sale of the second hand copyright work which was legally possessed → Download copyright work onto the computer RAM → Notice and Take Down – for Internet Service Provider Fair Use – examples in some jurisdictions Fair use” serves as affirmative defense to claim of copyright infringement. Publishers of scientific and medical journals brought copyright infringement action against corporation that had made unauthorized copies of copyrighted articles for use of its researchers. The Court of Appeals held that corporation’s copying was not fair use. AMERICAN GEOPHYSICAL UNION, et al., Plaintiffs–Counterclaim–Defendants–Appellees, v. TEXACO INC., Defendant–Counterclaim–Plaintiff–Appellant. 60 F.3d 913 United States Court of Appeals, Second Circuit. Kanya Hirunwattanapong, 2017 April
Infringement Issues: - Reproduction – browsing the Internet – this involves storing material in the RAM memory of the computer – Copying??? Public performance: including members of the public may gain access from a place and time individually chosen by them. Putting the copyright works without authorization into a website to be accessed by Internet users is fringing copyright (UK case 2006, Torremans, p. 653) Hypertext links: they are akin to endnotes/they refer to the other sites = as such do not amount to infringement. However, if the alleged infringer organized the link in such a way that the other sites will be shown inside the frame of his site, then there will be infringing. Peer-to-Peer File Sharing: sharing involves reproducing/innocence or ignorance is not a defence ISP (Internet Service Provider) – normally does not make the copy unless they authorize the making of the copy P2P software operates a central server (old version) – knowing what was going on on its server?
Copyright and the Internet – the copyrighted works do not lose its protection merely because they appear on the Internet Where does the copyright take place? – on the server on which the work is stored; on the foreign terminal where the users view the work; which national court will have jurisdiction to decide the infringement case – Private International Law is involved here! What website contains? Text, music and artistic works such as photos etc., they are protected. Website is published – via electronic retrieval system 1997 Case – a website was a cable programme service – sending visual images; sound or other info by means of telecommunication system – two ways communication included???
New version of P2P: - no central server, i. e New version of P2P: - no central server, i.e., no control or knowledge over its users ISP is being asked to block or impede access to P2P ISP having knowledge of their clients using ISP service to infringe copyright? ISP is called upon to assist with the copyright law enforcement/ - asking ISP to notify subscribers of copyright infringement (reports received from the copyright owner)
Blog – will blogger have legal liability when he or she put the video clips in the Blog? If the owner of the video clip made it to public – it was deemed ‘a permission’ to use, so putting the video clips in the Blog is fine – including the sharing link of those clips – it takes the user directly to the original source
Copyright and Computer Software ฎีกาที่ 4488/2559 ทำซ้ำโปรแกรมคอมฯ ไม่ว่าจากต้นฉบับ หรือสำเนาชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (source code) หรือภาษาเครื่อง (object code) อันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 4 ฎีกาที่ 4124/2558 User Interface เป็นส่วนที่ทำให้ผู้ใช้สามารถส่งคำสั่งให้เครื่องทำงานตามที่ตนต้องการ และหลังประมวลผลตามคำสั่งของผู้ใช้แล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลการทำงานตามที่ผู้ใช้ได้สั่งการ อันเป็นส่วนที่จัดว่าเป็นแนวความคิดว่าผู้ใช้เครื่องจะสื่อสารกับเครื่องอย่างไร และเครื่องจะตอบสนองต่อคำสั่งอย่างไร จึงถือไม่ได้ว่าส่วนเชื่อมประสานกับผู้ใช้นี้ เป็นสิ่งที่โจทก์สามารถผูกขาดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้แต่เพียงผู้เดียว ปรากฏว่า เหมือนกันของทั้งโจทก์และจำเลย การจะดูว่าจำเลยละเมิด ก็ต้องดูว่ารหัสต้นทางหรือซอร์สโค้ดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของโจทก์ ถูกทำซ้ำลอกเลียนหรือไม่ – โจทก์ต้องพิสูจน์ ประกอบกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยใช้รหัสต้นทางหรือซอร์สโค้ดที่แตกต่างกันยังสามารถสั่งให้แสดงผลที่หน้าจอประมวลผลหรือที่เรียกว่าส่วนประสานกับผู้ใช้ออกมาเหมือนกันได้ และการดูชุดคำสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้วจดจำไปเพื่อเขียนชุดคำสั่งดังกล่าวขึ้นมาใหม่เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยาก แต่หากดูชุดคำสั่งแล้วได้แนวคิดเพื่อไปเขียนชุดคำสั่งของตนเองเป็นโปแกรมขึ้นมาใหม่ย่อมเป็นไปได้มากกว่า จำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 จึงไม่มีความผิด
Copyright Infringement & Exceptions Infringing acts - Those who reproduce, adapt, and made public the copyright work without a permission of the copyright holder are infringing the copyright holder’s exclusive rights. Following the advance and modern communication technology, Thailand newly amended copyright act also deals with the infringing acts committed upon the copyright work on the Internet (Articles 53/1-53/5). They are as follows: - Eradicate or manipulate the information regarding the copyright with the realization that such act could result in the cover-up of the infringing act. - Import into and release to the public the copyright infringing work with the knowledge of information manipulation In the US: The Digital Millennium Copyright Act (DMCA) strikes a balance between the interests of copyright holders in benefiting from their labor, entrepreneurs in having the latitude to invent new technologies without fear of being held liable if their innovations are used by others in unintended infringing ways, and those of the public in having access to both; the DMCA balances these interests by requiring service providers to take down infringing materials when copyright holders notify them of the infringement and by limiting service providers' liability for unintentional infringement through several safe harbors. 17 U.S.C.A. § 512. MAVRIX PHOTOGRAPHS, LLC, a California limited liability company, Plaintiff-Appellant, v. LIVEJOURNAL, INC., Defendant-Appellee 2017 WL 1289967 United States Court of Appeals, Ninth Circuit. Kanya Hirunwattanapong, 2017 April
Kanya Hirunwattanapong, 2017 April In this case, Celebrity photography company (Mavrix) brought copyright infringement action against owner of social media platform (LiveJournal) that allowed users to post content in user-created thematic communities, after owner posted company's copyrighted photographs online. LiveJournal is a social media platform. It allows users to create and run thematic “communities” in which they post and comment on content related to the theme. LiveJournal communities can create their own rules for submitting and commenting on posts. LiveJournal follows the formal notice and takedown procedures outlined in the DMCA. To be eligible at the threshold for the § 512(c) safe harbor, a service provider must show that the infringing material was posted “at the direction of the user.” A copyright holder's failure to notify the service provider of infringement through the notice and takedown procedure strips it of the most powerful evidence of actual knowledge. To fully assess actual knowledge, a fact finder should assess a service provider's subjective knowledge of the infringing nature of the posts. LiveJournal's Terms of Service instructs users not to “[u]pload, post or otherwise transmit any Content that infringes any patent, trademark, trade secret, copyright or other proprietary rights.” Found that the moderators were the agent of LiveJournal – they screen and approve the photos/videos being put on-line. LiveJournal derives revenue from advertising based on the number of views ONTD receives. So, LiveJournal gained financial benefit. The Court of Appeals decided in favor of Marvix. Kanya Hirunwattanapong, 2017 April
UK Copyright Infringement Case (early cases in 2000): The judge considered whether or not the resemblance was sufficiently great. What is protected by copyright? And whether the substantial part of the protected work has been copied. ---- Adaptation: Making an adaptation of the protected work – the source code (written in high level programming language) is a machine code (object code) in binary. The binary code is disassembled into a low-level assembly language [Paul Torremans, p. 639]. So it reveals the idea and the techniques behind the programme. Defences: - reverse engineering/back-up copy for the lawful use of the programme
Fair Use: DISNEY ENTERPRISES, INC.; Lucasfilm Ltd. LLC; Twentieth Century Fox Film Corporation and Warner Bros. Entertainment, Inc., Plaintiff, v. VIDANGEL, INC., Defendant. The defendant is an unauthorized provider which provider filtered for objectionable content and streamed to its customers. The plaintiff alleged that provider violated companies' copyrights by circumventing technological measures that effectively controlled access to companies' copyrighted works on DVD and other digital storage discs, and reproduced and publicly performed companies' copyrighted works – without the plaintiffs’ authorization. The plaintiffs moved for preliminary injunction. Held: In favour to the plaintiffs – referring to the Digital Millennium Copyright Act; making copies; publicly performing companies' copyrighted works; provider did not demonstrate a likelihood of success on its affirmative defense of fair use
The defendant (provider) admitted that it used software to remove restrictions on DVD encryption, arguing that this reformatting or “space-shifting” was legal, there was no exemption under the DMCA for decryption without copyright holder's permission, and the Family Home Movie Act (FMA) did not provide an exemption from the anti-circumvention provisions of the DMCA. 17 U.S.C.A. §§ 110(11), 1201(a)(3)(A), 1201(a)(3)(B).
International Agreements and Digital Technology WIPO Copyright Treaty (WCT) It regulates an access to copyrighted works on the networks. It does not address innocuous acts of ephemeral copying such as RAM copies in the process of surfing the internet. It provides protection of technological measures against “circumvention”. Circumvention includes both ‘access control’ and ‘copy control’. WCT also provides for protection of rights management information. In other words, it provides legal remedies against the act of removing or altering any electronic rights management information without authority, knowing or having reasonable grounds to know that it will induce an infringement of the author’s rights Source: taken from an article by Ass. Prof. Dr. Pinai Nanakorn 2009
Source: taken from an article by Ass. Prof. Dr. Pinai Nanakorn 2009 Digital Activities Circumvention of technological measures & rights management Information Using technological measures for preventing unauthorized persons from having access to copyrighted works. Technological measures are in various forms – protection software, codes, encryption technology, etc., Rightholders provide details about the copyrighted work in order to facilitate traceability of copyright. Such details or information known as ‘right management information’. Source: taken from an article by Ass. Prof. Dr. Pinai Nanakorn 2009