การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
แผนการอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์และสร้างนวัตกรรม 1 (1) คณะว.ฝึกอบรมกองทุนฯของจังหวัด (2) คณะว.จัดการนวัตกรรม ฝึกอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์ให้คณะว.จังหวัด/อำเภอพร้อมกับกองทุนที่มีศักยภาพเป็นต้นแบบ คณะผู้เชี่ยวชาญและคณะวิทยากรแผนที่ยุทธศาสตร์ (ว.) จากระดับเขต /ภาค คณะวิทยากรกลาง คณะวิทยากรจังหวัด/อำเภอ คณะวิทยากรฝึกอบรม คณะวิทยากรนวัตกรรม กองทุนศักยภาพต้นแบบ กองทุนต้นแบบ/ทั่วไป
แผนการอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์และสร้างนวัตกรรม 1 สาธารณสุขจังหวัด คณะผู้จัดการนวัตกรรม คณะวิทยากรฝึกอบรม (จังหวัด/อำเภอ) กองทุนศักยภาพต้นแบบ(ใช้หลักสูตรเต็ม) กองทุนฯปกติ (ใช้หลักสูตรย่อ) คณะวิทยากรนวัตกรรม(จังหวัด/อำเภอ) ปรับกระบวนการสร้างบทบาทประชาชน จัดการความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
กระบวนการถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ การอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์ของกองทุนที่คัดเลือกไว้เป็นต้นแบบ (อย่างน้อย 3 กองทุน/อำเภอ)จะเป็นจุดตั้งต้น การอบรมใช้หลักสูตรเต็มรูปแบบ ทำการอบรมพร้อมกับผู้ที่เลือกไว้เป็นวิทยากรระดับจังหวัด/อำเภอ จากนั้น สร้างแผนที่ฯ SLM พร้อมนิยามเป้าประสงค์ด้วยตาราง 11 ช่อง สำหรับอำเภอ โดยปรับจากแผนที่ฯและตารางฯของกองทุนต้นแบบ (คณะวิทยากรจากอำเภอและกองทุนฯต้นแบบทั้ง 3 แห่งเป็นแกนนำสร้าง) นำแผนที่ฯSLM(ฉบับผู้จัดการ)ของอำเภอที่มีกลยุทธ์ด้วย เสนอผู้บริหาร (นายอำเภอ นายก อบต ต่างๆ) เพื่อขออนุมัติและปรับปรุง ผู้บริหารเลือกกลยุทธ์สำคัญที่สุดของแต่ละกล่องวัตถุประสงค์ที่เชื่อว่าจะนำไปสู่ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ที่อยู่เหนือขึ้นไป
แผนการสร้างทักษะการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ตั้งแต่ระดับอำเภอลงไป แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ระดับอำเภอ แผนที่ SLM กองทุนต้นแบบ 3 แผนที่ SLM กองทุนต้นแบบ 2 แผนที่ SLM กองทุนต้นแบบ 1 ขั้นที่ 3 อำเภอฝึกกองทุนสมัครใหม่(ใช้หลักสูตรลัด) ให้สร้างแผนปฏิบัติการได้ ขั้นที่ 1 อำเภอสร้างกองทุนต้นแบบ(ใช้หลักสูตรเต็ม)ให้ได้อย่างน้อย 3 แห่ง แผนปฏิบัติการ (MINI -SLM)กองทุนสมัครใหม่ ขั้นที่ 2 ผสาน SLM กองทุนต้นแบบเข้าด้วยกันเป็น SLM ระดับอำเภอ
กับโครงการที่ สปสช สนับสนุน ตัวอย่าง แผนที่ SLM ที่ผู้บริหารเลือกกลยุทธ์สำคัญไว้แล้ว (มีเครื่องหมายดาว*กำกับ) กับโครงการที่ สปสช สนับสนุน โครงการนี้ โครงการอื่น *สร้างบทบาทประชาชนเรื่องสุขภาพ *สร้างเสริม/พัฒนา อปท. *สร้างบทบาทภายใต้แผนที่ยุทธศาสตร์ *ทำข้อตกลงระหว่างองค์กร *ใช้แนวคิดใหม่ *สร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ *สร้างนวัตกรรมกระบวนการ /รูปแบบประกันสุขภาพโดยท้องถิ่น *อบรมแผนที่ยุทธศาสตร์/ จัดการนวัตกรรม *สร้างศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น/กองทุนฯ
การนิยามแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการของอำเภอ คณะวิทยากรของอำเภอนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ด้วยตาราง 11 ช่อง จะได้รายละเอียดต่างๆสำหรับวางแผนงานโครงการต่อไป 2. ระดับอำเภอนิยามมาตรการทางวิชาการในช่องที่ 4 ส่วน มาตรการทางสังคมในช่องที่ 5 เว้นไว้ให้เป็นหน้าที่ของท้องถิ่น หรือตำบลเป็นผู้นิยาม 3. กิจกรรมที่เป็นตัวกำหนด KPI คือกิจกรรมสำคัญที่จะนำไป สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) ในระดับท้องถิ่น/ตำบลต่อไป 4. มอบแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการที่สร้างระดับอำเภอหรือที่รับมาจากกรมวิชาการพร้อมตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ (11 ช่อง)ให้คณะวิทยากรกองทุนสุขภาพตำบลถอดเป็นแผนปฏิบัติการต่อไป
การถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ตั้งแต่ระดับอำเภอลงไป SLM ของกองทุนต้นแบบ 3 แห่งในอำเภอพร้อมตาราง 11 ช่อง SLM จากกรมวิชาการ สร้างตาราง 11 ช่อง(บางส่วน)ของอำเภอ ตาราง 11 ช่อง(บางส่วน)จากกรมฯ สร้าง SLM ของอำเภอ ตำบล อำเภอ แผนที่ความคิดและจุดหมายปลายทางของตำบล กำหนดประเด็นโดยผู้บริหาร ปรับตาราง11 ช่อง (สมบูรณ์) แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบล (Mini-SLM) เติมเต็มตาราง 11 ช่องที่ได้มาจากอำเภอเฉพาะช่องที่ยังเว้นว่างอยู่อีก 5 ช่อง ได้แก่ช่อง 5 8 9 10 11 ในช่อง 7 อาจกำหนด KPI เพิ่มเติมเพื่อชี้วัดความสำเร็จของมาตรการทางสังคมก็ได้ ตรวจสอบ SLM ของอำเภอให้สอดคล้องกับบริบทและประเด็นของตำบล แทนที่ “เป้าประสงค์”ในแผนที่ฯปฏิบัติการ (SLM) ด้วย “กิจกรรมสำคัญ”ในช่อง 3 (ผู้จัดการการเป็นผู้คัดเลือกกิจกรรมสำคัญสำหรับกลยุทธ์สำคัญ) จะได้ภาพ “เค้าโครง” (Skeleton) ของแผนปฏิบัติการ เสริมในช่องว่างระหว่างกิจกรรมสำคัญในแผนปฏิบัติการด้วยกิจกรรมอื่นในชุดเดียวกันเพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จดีขึ้น เชื่อมโยงทั้งหมดด้วยลูกศร นำงานที่เป็นตัวกำหนด KPI ของกิจกรรมสำคัญนั้นมาแนบไว้ที่มุมกล่องกิจกรรมสำคัญด้วย เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติสามารถติดตามงานได้ถูกต้อง นำตัวชี้วัดผลงานที่เห็นว่าสำคัญ (PI) ของกิจกรรมอื่นๆมาแนบไว้ข้างกล่อง เพื่อการติดตามงานของผู้จัดการ
KPI PI KPI PI KPI KPI KPI PI PI PI PI KPI KPI KPI PI PI KPI KPI KPI
ประโยชน์ของการใช้แผนปฏิบัติการ เพื่อยืนยันว่าวัตถุประสงค์ในการทำงานของผู้ปฏิบัติสอดคล้องกับขององค์กร เพื่อให้มีการหารือระหว่างสมาชิกในทีมเกี่ยวกับจุดหมายปลายทางและเป้าหมายที่มีร่วมกันและที่เป็นของแต่ละคน หัวหน้าและสมาชิกในทีมเข้าใจวัตถุประสงค์ตรงกัน ช่วยให้การพัฒนาคนทำได้ตรงตามความต้องการขององค์กร ทำให้การประเมินผลงานทำได้อย่างมีเหตุผล สามารถนำไปใช้ในระบบการให้ความดีความชอบด้วยผลงาน
ส วั ส ดี