ค่าเป้าหมายและตัวชี้วัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ณ ห้องประชุมพระธาตุขามแก่น ชั้น ๒ ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น (หลังเก่า)
หมวดที่ 6 การจัดซื้อ และจัดจ้าง
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ขยะ/ของเสียเหลือศูนย์ (Zero Waste Management)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าเป้าหมายและตัวชี้วัด (ร่าง) ยุทธศาสตร์การจัดการของเสียชุมชนของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) วิสัยทัศน์ : ไร้ของเสีย ไร้มลพิษ / ปราศจากของเสีย ไร้ผลกระทบ (Zero Waste & Zero impact) 28 ธค. 60 เป้าประสงค์ : ของเสียชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง และลดการปลดปล่อยคาร์บอน ปัญหาสำคัญ 1. การใช้บรรจุภัณฑ์ สินค้า และบริการที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม /สาเหตุ 2. สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการมีไม่เพียงพอ ส่วนใหญ่ ดำเนินการไม่ถูกต้อง มีปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง 3. ความตระหนักของประชาชนในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตามประเภท 4. การต่อต้านของประชาชนในการก่อสร้างสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย กรอบแนวคิดการจัดการของเสียของประเทศไทย เน้น 3R ทุกภาคส่วน (ประชาชน ผู้ผลิต และผู้จำหน่าย) ใช้หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย : PPP ใช้หลักการ Public Private Partnership ใช้หลักการ Extended Producer Responsibility : EPR แนวโน้มสถานการณ์ในอนาคต: การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตเป็นสังคมเมือง รวมถึงการย้ายถิ่นเข้าสู่เมือง หรือเมืองมีการขยายตัวมีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลต่อความต้องการในการบริโภคทรัพยากร และก่อให้เกิด ของเสียชุมชนเพิ่มมากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม ระบบดิจิตอล ส่งผลให้เกิดซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (WEEE) เพิ่มมากขึ้นในอนาคต การส่งเสริมการให้มีการใช้พลังงานทดแทนจากขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น โดย นำมาเป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้า การผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas) การผลิตเชื้อเพลิงขยะ (RDF) เป็นต้น ค่าเป้าหมายและตัวชี้วัด ข้อมูล ปีฐาน (57-59) ค่าเป้าหมาย 5 ปี 10 ปี 15 ปี 20 ปี 60 61 62 63 64 1. ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง ร้อยละ 56 55 65 70 75 100 2. การลดการปลดปล่อยคาร์บอนจากการจัดการขยะ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ป้องกันและลดการเกิดของเสียชุมชนที่ต้นทาง ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัด กำจัดของเสียชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของเสียชุมชน กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1.1 ส่งเสริมภาคการผลิตในการออกแบบ/ผลิตสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้มีอายุการใช้งานนานขึ้นสามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้หลายครั้ง ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของเสีย/วัสดุรีไซเคิลในกระบวนการผลิต และส่งเสริมการนำวัสดุผลพลอยได้ไปใช้ประโยชน์ 1.2 ออกมาตรฐาน/เกณฑ์กำหนดสัดส่วนวัสดุรีไซเคิลในในผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ 1.3 ออกกฎระเบียบให้เอื้อต่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งเสริมการลงทุน โดย การให้สินเชื่อเพื่อสิ่งแวดล้อม เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ มาตรการทางภาษี เป็นต้น กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มการใช้สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Purchasing) 2.1 ส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานของรัฐ 2.2 ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นอันตรายซึ่งก่อให้เกิดของเสียอันตรายเป็นภาระในการจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มปริมาณการรีไซเคิลของเสียจากชุมชน 3.1 สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนดำเนินการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยและของเสีย อันตรายนำกลับมาใช้ประโยชน์ 3.2 กำหนดให้มีการเก็บค่าธรรมเนียมการจัดการขยะมูลฝอยในอัตราที่แตกต่างกัน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการลดขยะมูลฝอยที่ต้นทาง 3.3 สนับสนุนให้ประชาชนเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ซ้ำหรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ 3.4 ลดขยะอาหาร (Food Waste) ตั้งแต่การบริโภคในครัวเรือน ธุรกิจ บริการเกี่ยวกับอาหารและการกำจัด โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ และแหล่งท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะแบบครบวงจร 1.1 ส่งเสริมให้ภาคเอกชนร่วมลงทุน 1.2 เพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร กลยุทธ์ที่ 2 ควบคุมการบริหารจัดการขยะให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 2.1 กำกับและควบคุมการบริหารจัดการด้านมลพิษ 2.2 ติดตามตรวจสอบ และเฝ้าระวังการปนเปื้อนมลพิษ ณ แหล่งกำเนิดมลพิษ และสิ่งแวดล้อมโดยรอบพื้นที่ 2.3 กำหนดหลักเกณฑ์ในการอนุญาต (Permitting System) ด้านการสมรรถนะการดำเนินการและการปล่อยระบายมลพิษ ที่ให้เอกชนดำเนินการจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการของเสียอันตรายชุมชน 3.1 จัดให้มีระบบแยกทิ้งของเสียอันตรายชุมชนออกกจากขยะมูลฝอยทั่วไป เพื่อรวบรวมให้ ภาคเอกชนนำไปบำบัด/กำจัดอย่างถูกต้อง 3.2 จัดให้มีระบบการเรียกคืนซากผลิตภัณฑ์ที่มีความอันตรายเมื่อหมดอายุการใช้งาน ตั้งแต่การเก็บรวบรวม การรีไซเคิล และการบำบัดกำจัดอย่างปลอดภัย ตามหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบการติดตามตรวจสอบและระบบฐานข้อมูลกลาง 1.1 ปรับปรุงและพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายชุมชนให้มี ประสิทธิภาพ 1.2 การจัดทำฐานข้อมูล Material Flow ของขยะมูลฝอย กลยุทธ์ที่ 2 วิจัย พัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยี แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม 2.1 ศึกษาวิจัย/พัฒนาระบบการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ การใช้วัสดุทดแทนผลิตภัณฑ์กำจัดยาก 2.2 ศึกษาวิจัย/พัฒนา และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการจัดการ รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการศูนย์กำจัด ขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับพื้นที่ ปริมาณ และองค์ประกอบขยะมูลฝอย 2.3 สนับสนุนการวิจัยโดยให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม เพื่อนำผลการวิจัยไปประยุกต์ ให้ถึงการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การสร้างนวัตกรรม เช่น การจัดการขยะอินทรีย์ในบ้าน วัสดุทดแทน ไมโครพลาสติกเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล เป็นต้น 2.4 ศึกษาวิจัยเพื่อกำหนดรูปแบบการตอบแทนและ/หรือชดเชยให้กับ อปท. ที่เป็นศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวมและ ประชาชนในพื้นที่เพื่อลดการต่อต้าน และวางระบบป้องกันสุขภาพให้กับผู้ปฏิบัติงานในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มการมีส่วนร่วมและการสร้างเครือข่าย 3.1 การลดความขัดแย้งและการต่อต้านจากประชาชน 3.2 สร้างเครือข่าย/ศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการของเสียชุมชนในระดับท้องถิ่น 3.3 สร้างกลไก และเครือข่ายในการติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังการจัดการของเสียชุมชนโดยการมีส่วนร่วม ของประชาชน 3.4 กำหนดเงื่อนไขในการต่อไปอนุญาต ของกิจการที่ต้องขออนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุข ให้มีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท โครงการสำคัญ 1. 2. กลไกสำคัญในการขับเคลื่อน/ปัจจัยความสำเร็จ