คำขวัญ : ระดมความคิด ร่วมมือร่วมใจ แก้ไขปัญหา พัฒนาองค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1. พัฒนาและออกแบบระบบเพื่อง่ายต่อการบันทึกและ การออกรายงาน 2. พัฒนาและออกแบบระบบเพื่ออำนวยความสะดวก ให้แก่บุคลากรภายในศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำ.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
Contribute “Stay strong not stand alone”. อ.ที่ปรึกษา อ.ดร.เขมกร ไชยประสิทธ์ บุคลากร พี่เดียร์ สโรชินี ศิลปานันทกุล ภาคการเงิน นุก น.ส.มณีรัตน์
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
QCC ผศ.ดร.อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา (อ.อ้น) อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวธนัญญา สดใส (บี) ประธานกลุ่ม นางสาวณัฏฐ์ชนินท์ ชีวานุตระ (อิ๊บ)
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
RainbowRainbowRainbowRainbow สายรุ้งน่ะมี 7 สี แต่ถ้าจะทำ QCC ให้นึกถึงพวกเรา 7 คน.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
รายงานการประชุม งานวิจัยและพัฒนา ประจำเดือนพฤศจิกายน 2554.
QCC งานบริการการศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
LesStep Faster Makes Better.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำขวัญ : ระดมความคิด ร่วมมือร่วมใจ แก้ไขปัญหา พัฒนาองค์กร QCC-58-24 ดาวลูกไก่ คำขวัญ : ระดมความคิด ร่วมมือร่วมใจ แก้ไขปัญหา พัฒนาองค์กร ลดระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล การจัดโครงการ/กิจกรรมของคณะบริหารธุรกิจ

ผศ.ดร.อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา (อ.อ้น) อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวศุภลักษณ์ วันปั๋น (พี่ฝ้าย) เจ้าหน้าที่หน่วยประกันคุณภาพการศึกษา ที่ปรึกษา นางสาวสกาวเดือน ณ เมธา (อัน) 561512143 เลขานุการ นางสาวธนัญญา สดใส (บี) 561512063 ประธานกลุ่ม นางสาวทัศพร จันทนานุวัฒน์กุล (พี่ไหม) เจ้าหน้าที่หน่วยประกันคุณภาพการศึกษา ที่ปรึกษา นางสาวณัฏฐ์ชนินท์ ชีวานุตระ (อิ๊บ) 561512039 สมาชิก นางสาวณัฐฐินันท์ บุญศิริ (ไข่มุก) 561512042 สมาชิก นางสาวณัฐณิชา โมหา (เฟิร์น) 561512043 สมาชิก นายปุณยวัช อินทนนท์ (หนุ่ม) 561512088 สมาชิก นางสาวศศิธร เรืองเดชสุวรรณ (ฟลุ๊ค) 561512133 สมาชิก

1 ปัญหา คะแนน 48 ความเป็นไปได้ ความรุนแรง ความถี่ รวม 1. 3 4 2. 1 12 การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ ลำดับ ปัญหา คะแนน ความเป็นไปได้ ความรุนแรง ความถี่ รวม 1. ปัญหาการรวบรวมข้อมูลโครงการ/กิจกรรมเพื่อทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR)ใช้เวลานาน 3 4 48 2. ปัญหาการตามเอกสาร/ข้อมูลของหน่วยงาน QA (หน่วยงานส่งข้อมูลไม่ตรงตามเวลา) 1 12 3. บุคลากรไม่เข้าใจในระบบการทำงานการใช้งาน PDCA 2 จากการค้นหาปัญหาและคัดเลือกปัญหา เราได้หัวข้อปัญหาที่น่าสนใจมา 3 หัวข้อ คือ 1. ปัญหาการรวบรวมข้อมูลโครงการ/กิจกรรมเพื่อทำรายงานการประเมินตนเอง(SAR) 2. ปัญหาการตามเอกสาร/ข้อมูลของหน่วยงาน QA (หน่วยงานส่งข้อมูลไม่ตรงตามเวลา) 3. บุคลากรไม่เข้าใจในระบบ PDCA ซึ่งหัวข้อที่มีความเป็นไปได้ ความรุนแรง และความถี่มากที่สุดคือ หัวข้อที่ 1

>> การประชุมระดมสมองเพื่อร่วมกันคัดเลือกปัญหา ร่วมกับพี่ๆ หน่วยประกันคุณภาพการศึกษา

2 การรวบรวมข้อมูลโครงการ/กิจกรรมของหน่วยประกันคุณภาพการศึกษา เก่า ใหม่ การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย การรวบรวมข้อมูลโครงการ/กิจกรรมของหน่วยประกันคุณภาพการศึกษา เก่า ใหม่ ระบบ PDCA เก่า หน่วยงาน QA ระบบใหม่ หน่วยงาน QA ขอข้อมูลเพิ่มเติมไปยังหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ให้ส่งทาง e-mail มีข้อมูลโครงการครบถ้วน สามารถแนบไฟล์สรุปผลประเมินโครงการ หน่วยงานต่างๆสามารถดึงข้อมูลผลประเมินฯ จากระบบได้ ภาควิชา ข้อมูลโครงการไม่ครบถ้วน ไม่มีข้อมูลสรุปผลประเมินโครงการ เช่นผลประเมินความพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ภาควิชา หน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานอื่นๆ เป้าหมาย ใช้เวลานาน เนื่องจากไม่สามารถดึงข้อมูลจากระบบได้ครบทั้งหมด 1 ชม. 1 สัปดาห์ 5 นาที

Time Function Map ขั้นตอนการจัดโครงการ กรอกข้อมูลโครงการ สรุปผลการจัด โครงการ ขั้นตอนในการจัดทำโครงการต่างๆ จะเริ่มจาก เสนอโครงการในระบบ MIS คณะบริหารธุรกิจ (PDCA) ตรวจสอบการนำเสนอโครงการ หากไม่ผ่านจะกลับไปเสนอโครงการใหม่ แต่ถ้าผ่าน ขั้นตอนต่อไปจะพิจารณาอนุมัติโครงการ เบิกงบประมาณ ติดต่อสถานที่ ตรวจสอบความพร้อมของสถานที่และวิทยากร หากไม่ผ่านก็จะกลับไปตรวจสอบความพร้อมใหม่ แต่ถ้าผ่านก็จะสู่ขั้นตอนต่อไป ขั้นตอนประชาสัมพันธ์ ผู้ที่สนใจเข้าลงทะเบียน ดำเนินกิจกรรม ตรวจสอบการเข้าร่วม ประเมินผลความพึงพอใจการจัดกิจกรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทำการสรุปผล และบันทึกผลการเข้าร่วมกิจกรรม 6 .1 วัน ใหม่5.8 วัน

ข้อมูลสภาพปัจจุบัน : ระยะเวลาที่ใช้ของผู้ปฏิบัติงาน หน่วยงาน/ภาควิชา ระยะเวลาร่างโครงการ/กรอกข้อมูล (ชั่วโมง) (P) ระยะเวลาสรุปผลการจัดทำโครงการ (ชั่วโมง) (A) ภาควิชาบัญชี 1 3 ภาควิชาการเงินและการธนาคาร ภาควิชาการจัดการ 2 8 หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา 0.5 หน่วยวิจัย หน่วยทำนุบำรุง/ศิลปะและวัฒนธรรม 1.5 หน่วยงานนโยบายแผน ศูนย์ MIC หน่วยพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานบริการการศึกษาฯ ป.ตรี หน่วยงานบริการการศึกษาฯ ป.โท หน่วยงานบริการการศึกษาฯ ป.เอก 0.25 ค่าเฉลี่ย 1.56 2.65 จากตารางข้างต้นแสดงให้เห็นถึง ระยะเวลาในการจัดทำโครงการ จนถึงเสนอโครงการ ของแต่ละภาควิชา/หน่วยงาน ในช่วงของระยะเวลาร่างโครงการ/กรอกข้อมูล (ชั่วโมง) มีค่าเฉลี่ยออกมาคือ 1.56 และระยะเวลาสรุปผลการจัดทำโครงการ (ชั่วโมง) มีค่าเฉลี่ยออกมาคือ 2.65 ชั่วโมง เป้าหมาย 15 นาที

3 ตาราง Gantt Chart การวางแผนกิจกรรม = Plan = Actual 7 step of QC story สิงหาคม 58 กันยายน 58 ตุลาคม 58 พฤศจิกายน 58 1 2 3 4 1.การค้นหา/คัดเลือกปัญหาหัวข้อ   2.การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย 3.การวางแผนกิจกรรม 4.การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 5.การกำหนดมาตรการแก้ไขและการปฏิบัติ 6.การตรวจสอบผล 7.การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน 8.นำเสนอผลงานในวัน QCC Day จากตารางการวางแผนกิจกรรมข้างต้น จะแสดงให้เห็นถึงช่วงระยะเวลาของการจัดทำแต่ละขั้นตอน จนถึงวันนำเสนอผลงาน QCC

ผู้บริหารที่พิจารณาโครงการ 4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ผู้จัดทำโครงการ คณบดี ผู้บริหารที่พิจารณาโครงการ ขั้นตอนการทำงาน ระบบ PDCA

ขั้นตอนการทำงาน

ระบบ PDCA

ตารางแสดงความถี่สาเหตุของปัญหา 4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ต่อ) ตารางแสดงความถี่สาเหตุของปัญหา ลักษณะของปัญหา ความถี่ %ความถี่ ความถี่สะสม  การใช้ระบบ PDCA ระบบเก่าทำให้การทำงานซ้ำซ้อน 12 28% 12.00 ระบบ PDCA ไม่เสถียร 10 51% 22.00 ระบบ PDCA เก่ามีการกำหนดเวลาในการกรอกข้อมูล 4 60% 26.00 การกรอกข้อมูลในระบบ PDCA เก่า มีความเสี่ยงทำให้ข้อมูลในระบบหาย 70% 30.00 แต่ละหน่วยงานไม่เห็นความสำคัญของการกรอกระบบ PDCA 3 77% 33.00 คีย์ข้อมูลแล้วโปรแกรมไม่จัดรูปแบบให้ 2 81% 35.00 ระบบใช้งานยาก 86% 37.00 แบบฟอร์มไม่เป็นมาตรฐาน 91% 39.00 หน้าเว็บไซต์ปัจจุบันไม่มีระบบ PDCA 1 93% 40.00 ข้อมูลของเว็บไซต์เก่าและใหม่ ไม่ประสานกัน 95% 41.00 บุคลากรบางคนไม่รู้จักหรือไม่เคยใช้งานระบบ 98% 42.00 พื้นที่กรอกในระบบ PDCA ไม่เพียงพอต่อปริมาณข้อมูลที่ต้อง กรอก 100% 43.00 เข้าสู่ขั้นตอนการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ปัญหาของการใช้ระบบ PDCA นั้นมาจากหลายสาเหตุ และจากการสำรวจปัญหาและลงความถี่ จะสรุปได้ว่าสาเหตุของปัญหาที่พบมากที่สุดคือ การใช้ระบบ PDCA เดิม ทำให้การทำงานซ้ำซ้อน

แผนภูมิ Pareto

ระบบ PDCA เก่า >> ระบบe-Project ใหม่ 5 การกำหนดมาตรการแก้ไขและการปฏิบัติ ระบบ PDCA เก่า >> ระบบe-Project ใหม่ ศึกษาดูงาน+นำระบบต้นแบบ e-Project ของคณะวิทยาศาสตร์มาปรับใช้

>>จัดประชุมผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบการเขียนโครงการของภาควิชาและหน่วยงานเพื่อทดสอบระบบ e-Project รวมทั้งให้ข้อมูลความต้องการและข้อเสนอแนะ (requirement) อื่นๆ ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบต่อไป เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 เวลา 14.00 – 15.00 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ชั้น 2

>>จัดประชุมผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบการเขียนโครงการของภาควิชาและหน่วยงานเพื่อทดสอบระบบ e-Project รวมทั้งให้ข้อมูลความต้องการและข้อเสนอแนะ (requirement) อื่นๆ ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบต่อไป เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 เวลา 14.00 – 15.00 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ชั้น 2

6 การตรวจสอบผล การรวบรวมข้อมูลโครงการ/กิจกรรมของหน่วยประกันคุณภาพการศึกษา เก่า ใหม่ ระบบ PDCA เก่า หน่วยงาน QA ระบบใหม่ e-Project หน่วยงาน QA ขอข้อมูลเพิ่มเติมไปยังหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ให้ส่งทาง e-mail มีข้อมูลโครงการครบถ้วน สามารถแนบไฟล์สรุปผลประเมินโครงการ หน่วยงานต่างๆสามารถดึงข้อมูลผลประเมินฯ จากระบบได้ ภาควิชา ข้อมูลโครงการไม่ครบถ้วน ไม่มีข้อมูลสรุปผลประเมินโครงการ เช่นผลประเมินความพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ภาควิชา หน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานอื่นๆ เป้าหมาย ใช้เวลานาน เนื่องจากไม่สามารถดึงข้อมูลจากระบบได้ครบทั้งหมด 1 ชม. 1 สัปดาห์ 5 นาที

6 ระยะเวลาที่ใช้ของผู้ปฏิบัติงาน (ระบบ e-Project ใหม่) การตรวจสอบผล (ต่อ) ระยะเวลาที่ใช้ของผู้ปฏิบัติงาน (ระบบ e-Project ใหม่) หน่วยงาน/ภาควิชา   ระยะเวลาร่างโครงการ/กรอกข้อมูล (นาที) (P) ระยะเวลาการสรุปผลการจัดทำโครงการ (นาที) (A) ภาควิชาบัญชี 10 5 ภาควิชาการเงินและการธนาคาร 30 ภาควิชาการจัดการ 1 หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา 2 หน่วยวิจัย หน่วยทำนุบำรุง/ศิลปะและวัฒนธรรม 12 หน่วยงานนโยบายและแผน 15 ศูนย์ MIC 3 หน่วยพัฒนาคุณภาพ หน่วยงานบริการการศึกษาฯ ป.ตรี หน่วยงานบริการการศึกษาฯ ป.โท หน่วยงานบริการการศึกษาฯ ป.เอก ค่าเฉลี่ย 10.30 นาที 10.2 นาที จากการตรวจสอบผล จะได้ค่าเฉลี่ยระยะเวลาร่างโครงการ/กรอกข้อมูล คือ 10.30 นาที และระยะเวลาการสรุปผลการจัดทำโครงการ คือ 10.2 นาที เป้าหมาย 15 นาที

>>ทำเอกสารแนวทางเขียนโครงการผ่านระบบ e-Project 7 การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน >>ทำเอกสารแนวทางเขียนโครงการผ่านระบบ e-Project

เปรียบเทียบรูปแบบรายงานโครงการที่พิมพ์ออกมา ระหว่างระบบ PDCA เก่า กับ ระบบ e-Project ใหม่

Cost Saving ของต้นทุนกระดาษ 23,939.86 บาท/ปี จำนวนโครงการ/ปี จำนวนกระดาษที่ใช้แต่ละโครงการ (รวมที่ปริ้นเสีย) (แผ่น) ต้นทุนกระดาษต่อแผ่น (บาท) จำนวนกระดาษที่ใช้เมื่อนำระบบเก่ามาใช้ ต้นทุนกระดาษ ระบบเดิม (บาท/ปี) จำนวนกระดาษที่ใช้เมื่อนำระบบใหม่มาใช้ ระบบใหม่ (บาท/ปี) ต้นทุนที่ประหยัดได้ (บาท/ปี) 100 6 0.20 600 120 20 Cost saving ของผู้ปฏิบัติงาน เงินเดือนเฉลี่ย(บาท/ต่อปี/คน) เงินเดือนเฉลี่ย (บาท/นาที) ระยะเวลาที่ประหยัดได้ในการกรอกข้อมูลโครงการ (นาที/เดือน) ระยะเวลาที่ประหยัดได้การสรุปผลการจัดทำโครงการ (นาที/เดือน) จำนวนเงินที่ประหยัดได้ (บาท/เดือน) (บาท/ปี) 28,113.45 3.35 106.70 140.80 828.343 9,940.11 Cost saving ของผู้ใช้ข้อมูลผลประเมิน (หน่วยงานประกันคุณภาพการศึกษา) เงินเดือนเฉลี่ยต่อ(บาท/ปี/คน) เงินเดือนเฉลี่ย (บาท/นาที) ระยะเวลาที่ประหยัดได้ในการรวบรวมผลประเมิน (นาที) จำนวนเงินที่ประหยัดได้ (บาท/ปี) 26,000 3.10 2,155 6,680.50 Cost saving ของผู้ใช้ข้อมูลผลประเมิน (หน่วยงานอื่นๆอื่น) เงินเดือนเฉลี่ยต่อ(บาท/ปี/คน) เงินเดือนเฉลี่ย (บาท/นาที) ระยะเวลาที่ประหยัดได้ในการรวบรวมผลประเมิน (นาที) จำนวนเงินที่ประหยัดได้ (บาท/ปี) 28,113.45 3.35 2,155 7,219.25

1.ปัญหาในการสำรวจข้อมูล 2.ปัญหาในการติดต่อสื่อสาร 1.ลดต้นทุนกระดาษที่ใช่ในการเสนอโครงการ 2.ลดการทำงานซ้ำซ้อนของบุคลลากร 3.แบบฟอร์มในการเสนอโครงการมีรูปแบบที่ เป็นมาตรฐาน 4.บุคลากรมีความพึงพอใจในการใช้ระบบใหม่ 5.ผู้บริหารสามารถติดตามและดูแลว่า โครงการใดสอดคล้องกับพันธกิจ/กลยุทธ์ ของคณะข้อใด 6.ระบบสามารถพัฒนาและใช้ได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน ผลจากการปรับปรุง ช่วยลดระยะเวลาในการรวบรวมข้อมูลการจัดโครงการ/กิจกรรมของหน่วยประกันคุณภาพการศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ 1.ปัญหาในการสำรวจข้อมูล 2.ปัญหาในการติดต่อสื่อสาร 3.ปัญหาภาระงานอื่นของ สมาชิกในกลุ่ม คณะสามารถนำระบบe-projectไปพัฒนาต่อให้เข้ากับระบบงานของคณะและผู้ปฏิบัติงาน