สาขา 13 รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
Advertisements

Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
Service plan สาขาไต นพ.ประนาท เชี่ยววานิช.
กองทุนโรคไตวาย 6 มีนาคม 2555
กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
Siriporn Chitsungnoen
สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
โครงการเด็กไทยสายตาดี
สาขารับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
Service Plan in Kidney Disease
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
บทที่ 14 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรค
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ชีวิตหลังจบมหาวิทยาลัย = 0 เล่าให้น้อง ๆ โดยพี่ยักษ์ (จตุพร สวัสดี)
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
Long Term Investment Plan : D1
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น.
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
การแต่งกายของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
โดย การอภิปราย “แนวทางการปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาตฯ (รง.4)”
Service Profile :บริการหอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง รพร.เดชอุดม
Systemic multilineage engraftment in mice after in utero transplantation with human hematopoietic stem cells by Russell G. Witt, Emily M. Kreger, Laura.
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบงานกลุ่มย่อย.
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขา 13 รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ Service Plan สาขา 13 รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ

รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (s) รพ.พุทธชินราช (A) Donor Center Donor Center รพ.อุตรดิตถ์ (a) Donor Center Transplant Center รพ.สุโขทัย (s) Donor Center 61=Harvest Center รพ.แม่สอด (s) รพ.มหาวิทยาลัยนเรศวร BM, Cornea Transplant Center รพ.ศรีสังวร (M1) รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (s) รพ.เพชรบูรณ์ (s) Donor Center Donor Center Donor Center

วิเคราะห์การดำเนินงาน รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มี Kidney transplant (KT) center เขตละ 1 แห่ง มีที่รพ.พุทธชินราช ต้องหยุดทำ KT ชั่วคราวตั้งแต่ปี 2559 เนื่องจากมีอายุรแพทย์โรคไตที่ดูแล KT เพียง 1 ท่านและพยาบาลงานเปลี่ยนไต 1 ท่าน ซึ่งเป็นพยาบาล HD ด้วย ปัจจุบันต้องดูแลผู้ป่วยที่เปลี่ยนไตแล้ว 108 ราย รพ. A และ S ทั้งหมดเป็น donor center ภายในปี 2564 และ มี organ donor 1 : 100 hospital death มี eye donor 5 : 100 hospital death ปีงบฯ 2559 : เขต 2 มี organ donor 2 ราย (รพ.พุทธชินราชและรพ.แม่สอด) ปีงบฯ 2560 (ถึง มี.ค.) เขต 2 มีorgan donor 12 ราย ทุก รพ. เป็น doner center และเป็น M1 มีพยาบาลผู้ประสานงานรับบริจาคปลูกถ่ายอวัยวะ (TC) เพียง 3/6 รพ. คือ ผู้ประสานงานปลูกถ่ายอวัยวะใน 3 รพ. คือ รพ.สุโขทัย, รพ.ศรีสังวร และ รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ความเชื่อของประชาชน จากการประชุมระดับเขต จ.สุโขทัย

รพ.ศรีสังวร สุโขทัย (M1)

รายงานยอดการรับบริจาคอวัยวะ ดวงตาและโลหิต ประจำเดือน ...ธันวาคม 2559 - กุมภาพันธ์ 2560 ส่วนที่ 1 การบริจาคอวัยวะ/ดวงตาจากผู้มีชีวิต ประเภทการบริจาค 1. บริจาคอวัยวะ 133 ราย 2. บริจาคดวงตา 164 3. บริจาคอวัยวะและดวงตา บริจาค 1. ไต 297 2.ตับ 296 3.หัวใจ 4.ปอด 5.ดวงตา 328 6.อื่นๆ ระบุ..กระดูก 14 ส่วนที่ 2 เฉพาะการบริจาคโลหิต จำนวนบริจาคโลหิต 16,938 รวม ยูนิต

รายงานการบริจาคอวัยวะ เขตสุขภาพที่ 2 รายงานการบริจาคอวัยวะ เขตสุขภาพที่ 2 รพ. organ donor center ในจังหวัด จำนวนผู้ป่วยสมองตายที่ยินยอมบริจาคอวัยวะ (เป้าหมาย:> 1ราย ต่อผู้ป่วยที่เสียชีวิตใน รพ. 100 ราย) หมายเหตุ เป้าหมาย (จน.เสียชีวิต) จำนวนผู้ป่วยสมองตาย ที่ยินยอมบริจาคอวัยวะ รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก 13 4 ราย ติดข้อห้ามบริจาคไม่ได้ 1 ราย, lab ไม่ผ่าน 2 ราย   (1,334) ได้ไต 1 ราย(2ข้าง) รพ.อุตรดิตถ์ 8 0 ราย เม.ย ไต 2 ข้าง, พ.ค ไต 2 ข้าง (805) รพ.เพชรบูรณ์ 7 6 ราย ได้ไต 2 ราย(4 ข้าง) , Lab ไม่ผ่าน 3 ราย 1 รายอวัยวะบอบช้ำใช้ไม่ได้ (756) 1.รพ.แม่สอด 5 (559) 2.รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2 (247) รวมจังหวัดตาก 1.รพ.สุโขทัย 4 (425) 1 ราย ได้ไต 2 ข้าง 2.รพ.ศรีสังวรสุโขทัย 4 (408) 2 ราย ได้ไต 2 ข้าง, 2 ไต 1 ตับ รวมจังหวัดสุโขทัย รวมเขตสุขภาพที 2 45 12 ราย ตุลาคม 2559- มีนาคม 2560

รายงานการบริจาคดวงตา เขตสุขภาพที่ 2 ตุลาคม 2559- มีนาคม 2560 รพ. A, S, M1 ในจังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิตที่ยินยอมบริจาคดวงตา (เป้าหมาย:> 5 ราย ต่อผู้ป่วยที่เสียชีวิตใน รพ. 100 ราย) หมายเหตุ เป้าหมาย จำนวนผู้เสียชีวิตที่ยินยอมบริจาคดวงตา รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก (A) 66 2 ราย 1 รายติดข้อห้ามบริจาคไม่ได้, 2 ราย Lab ไม่ผ่าน ภาพรวมจังหวัดพิษณุโลก   (ผู้เสียชีวิต 1,334 ราย) รพ.อุตรดิตถ์(A) 40 0 ราย (ผู้เสียชีวิต 805 ราย) ภาพรวมจังหวัดอุตรดิตถ์ รพ.เพชรบูรณ์ 37 7 ราย ได้ตา 3 ราย, Lab ไม่ผ่านและ cornea ถลอก 4 ราย (ผู้เสียชีวิต 756 ราย) ภาพรวมจังหวัดเพชรบูรณ์ 1.รพ.แม่สอด(S) 27 3 ราย ได้ตา 3 ราย (เสียชีวิต=559 ราย) 2.รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (S) 12 (เสียชีวิต=247 ราย) ภาพรวมจังหวัดตาก 1.รพ.สุโขทัย(S) 21 6 ราย ได้ตา 2 ราย (เสียชีวิต=425 ราย) 2.รพ.ศรีสังวรสุโขทัย(M1) 20 ได้ตา 6 ราย Cornea บวมบริจาคไม่ได้ 1 ราย(เสียชีวิต=408 ราย) รวมจังหวัดสุโขทัย 41 12 ราย รวมเขตสุขภาพที 2 226 24 ราย

รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก : Kidney harvesting team : KT (deceased donor) รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก : (Liver transplant) รพ.มน. Cornea transplant, Bone marrow 60 61 62 63 64 65 ทุก รพ.เขต 2 เป็น Organ / Tissue Donor center รพ.พุทธชินราช : Cornea transplant รพ.แม่สอด , อุตรดิตถ์ : Kidney harvesting team ปัจจุบัน รพ.มน. : Bone marrow , Cornea transplant , kidney (ร่วม รพ.พุทธฯ) รพ.พุทธฯ : (living kidney transplant) เริ่มปี 62 : Donor center : eye ให้กาชาด

ระบบการรับบริจาคอวัยวะ ตัวชี้วัด เป้าหมาย การดำเนินงาน ผล ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-มี.ค.60 1.จำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ≥ 1 ราย:100hospital death ผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ยินยอมบริจาค ≥ 1 ราย:100 1.มีการจัดตั้งศูนย์รับบริจาคโดยมีแพทย์CVT เป็นประธานและมีสหสาขาเป็นคณะ กรรมการ 1. มีผู้บริจาค 1 รายแต่ผล ไม่สามารถนำอวัยวะไปปลูกถ่ายได้จากตรวจเลือดไม่ผ่าน Hepatitis B -มีผู้บริจาค 2 ราย hospital death 2.มีพยาบาลผู้ประสานงาน Donor –coordinater ที่ผ่านการอบรมจากสภากาชาดไทย จำนวน 18 คนทั้งในหอผู้ป่วยในและICU -ได้อวัยวะ 1ราย คือไต 2 ข้าง - อีก1รายได้อวัยวะ คือกระดูก ไม่สามารถปลุกถ่ายได้จากผลเลือดไม่ผ่าน

ระบบการรับบริจาคดวงตา ตัวชี้วัด เป้าหมาย การดำเนินงาน ผลตค.ธค ผลมค-มีค60 1.จำนวนผู้ บริจาคดวงตา จากผู้ป่วย สมองตาย ≥ 5 ราย:100hos pital death ผู้บริจาคดวงตาจาก ผู้ป่วยสมองตาย ยินยอมบริจาค ≥ 5 ราย:100 hospital death 1.มีการจัดตั้งกรรมการ ศูนยืรับบริจาคโดยมี แพทย์CVT เป็น ประธานและมีสหสาขา เป็นคณะกรรมการ 1.มีการจัดตั้งศูนย์ดวงตา เขต อยู่ที่แผนกจักษุ อาคารผู้ป่วยนอก 2. มีพยาบาลผู้ผ่านการ อบรมเจรจาขอดวงตา 2 คน 1.มีผู้บริจาค 1 รายแต่ ผลไม่สามารถนำ ดวงตาไปปลูกถ่ายได้ จากตรวจเลือดไม่ผ่าน ( Hepatitis B ) -มีผู้บริจาค 2 ราย -ได้ดวงตา 2 ข้าง - อีก1รายได้ดวงตา 2 ข้างแต่ไม่สามารถปลุก ถ่ายได้จากผลเลือดไม่ ผ่าน

การปลูกถ่ายไต ตัวชี้วัด เป้าหมาย การดำเนินงาน ผล ต.ค.- ธ.ค. 1. จำนวนผู้ป่วยที่รอ คิวปลูก 2. จำนวนผู้ได้รับการ ปลูกถ่ายไต 3. Graft survival rate 4. Patient survival 1. จำนวนผู้ป่วยที่รอคิว ปลูกถ่ายไต/ปี 2. จำนวนผู้ได้รับการปลูก ถ่ายไต 3. Graft survival rate 4. Patient survival rate 1. มีการจัดตั้งกรรมการปลูกถ่ายโดยมีแพทย์ Nephologis เป็นประธานและมีสหสาขาเป็น คณะกรรมการ ประกอบด้วย ศัลยแพทย์ระบบ ทางเดินแพทย์หลอดเลือด วิสัญญีแพทย์และ วิสัญญีพยาบาลที่ได้รับมอบหมายทำผู้ป่วยKT จิตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลห้องผ่าตัด พยาบาล ห้องICUและพยาบาล TC เป็นกรรมการ 2. มีการประชุมทีมงานก่อนการคัดเลือกผู้ป่วยก่อน ทำผ่าตัด 3. มีการติดตามคุณภาพชีวิตผู้ป่วยทุกราย 1. จำนวนผู้ป่วยที่รอคิวปลูกถ่าย ไต 0 ถ่ายไต 108 ราย(ตั้งแต่ ปี.2538-2558) 3. Graft survival rate 97% ใน 6 เดือน 100% ใน20 เดือน

ปัญหาด้านการบริจาคอวัยวะ

1. ด้านการรณรงค์ มีจนท.ออกหน่วยรณรงค์ น้อย สถานที่ออกหน่วยไม่พร้อม ค่าเช่าสถานที่เอกชนราคาแพง ภาระงาน TC /DC มาก ความเชื่อของญาติเรื่องการบริจาค

2.ด้านการเจรจาขออวัยวะ DC ไม่มีความมั่นใจและทักษะในการเจรจา DC ไม่สามารถปลีกตัวออกเดินหาcaseได้จาก ภาระงานประจำวันมาก มี DC เพียง1-3 คนที่ทำได้ทั้งกระบวนการและเฝ้า คนไข้ครั้งละ2-3 วัน DC ไปอบรมได้ยาก เพราะพยาบาลในหอมีน้อย ไม่มีการแจ้งวินิจฉัยสมองตาย

3.ด้านการประสานงานกับกาชาด มีความยุ่งยาก ต้องรายงานตลอดเวลา รบกวนเวลาปฏิบัติงานกับผู้ป่วยอื่น ในยามวิกาลมี การส่งเอกสารและการ ตรวจพิเศษบ่อยครั้ง

ด้านการดูแลทีมผ่าตัด D/C ต้องดูแลเรื่องอาหาร ทำให้การ ประสานงานอื่นๆล่าช้า โดยเฉพาะ ยามวิกาล หลัง 20.00น. ซึ่งไม่มี จนท. ประชาสัมพันธ์

ด้านเอกสาร/การตรวจพิเศษ ส่งเอกสาร /เลือดไปสนามบิน DC ต้องไปเองเพราะต้องการรีบด่วน ใช้รถส่วนตัว เนื่องจากไม่มีรถรพ.ว่าง ยังไม่มีใบประกาศนียบัตรของรพ. โดยตรง

ด้านการเงิน เนื่องจากการเงินไม่สามารถทำเบิกเองได้ DC หลัก ต้องทำหน้าที่เบิกเงินจากกาชาดเอง การจัดทำค่าตอบแทนบุคลากรตามที่กาชาดกำหนด ไม่ครอบคลุม ผู้ปฏิบัติงาน เช่น แพทย์ที่เฝ้าคนไข้ก่อน ผ่าตัด แพทย์ที่ทำBiopsy เจ้าหน้าที่ที่ร่วมออก หน่วยไปรณรงค์ ไม่มีกองทุนในการร่วมงานศพ

ด้านการร่วมแสดงความเคารพศพ มี จนท. ร่วมพิธีเคารพศพน้อย โดยเฉพาะนอกเวลาราชการ

การดำเนินแก้ไข จัดรถรับ ส่ง ผู้บริจาคกลับบ้านอย่างสมเกียรติ ผู้บริหาร และกลุ่มการพยาบาลจัดทีมร่วมฟัง สวดอภิธรรมและ ฌาปนกิจกิจศพ จัดทำใบประกาศนียบัตรของโรงพยาบาล

การดำเนินแก้ไข ประชุมปรับระบบการมอบหมายงานใหม่ สร้างขวัญกำลังใจ ตอบแทนการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผู้บริหารรับฟังปัญหา และร่วมหาแนวทางแก้ไข ร่วมกำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดที่เป็นไปได้ ประสานห้องตรวจแล็บ ให้พร้อมตรวจตลอดเวลา

การดำเนินงานแก้ไข ผลักดันให้มีนโยบายระดับโรงพยาบาล ให้แพทย์ Intern /Resident เป็นผู้ส่งข้อมูลผู้ป่วยสมองตาย เพิ่มการประชาสัมพันธ์ ทั้งในและนอกโรงพยาบาล/ ระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานในการขอรับบริจาค อวัยวะ

ปลูกถ่ายไต

การปลูกถ่ายไต ตัวชี้วัด เป้าหมาย การดำเนินงาน ผล ต.ค.-มี.ค. 1.จำนวนผู้ป่วยที่ รอคิวปลูก 2.จำนวนผู้ได้รับ การปลูกถ่ายไต 3.Graft survival rate 4.Patient survival 1.จำนวนผู้ป่วยที่รอ คิวปลูกถ่ายไต 5ราย ในปี60 2.จำนวนผู้ได้รับการ ปลูกถ่ายไต 3.Graft survival rate 1.มีการจัดตั้งกรรมการปลูกถ่ายโดยมีแพทย์ Nephrologist เป็นประธานและมีสหสาขา เป็นคณะกรรมการ 2.มีการประชุมทีมงานก่อนการคัดเลือก ผู้ป่วยก่อนทำผ่าตัด 3 ราย ซึ่งใกระบวนการ เตรียมการปลูกถ่าย 3.มีการติดตามคุณภาพชีวิตผู้ป่วยทุกราย 1.จำนวนผู้ป่วยที่รอคิวปลูก ถ่ายไต 2.จำนวนผู้ได้รับการปลูก ถ่ายไต108 ราย(ตั้งแต่ ปี 38-58) 97% ใน 6 เดือน 4.Patient survival rate 100% ใน20 เดือน

โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก กับการให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยปลูกถ่ายไต โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก เป็นโรงพยาบาลศูนย์แห่งแรกในภาคเหนือตอนล่างที่เปิดให้บริการปลูกถ่ายไต ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา โดยเริ่มตั้งแต่ให้คำปรึกษาและตรวจวินิจฉัยตามขั้นตอนเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้บริจาคไตและผู้รับไต ซึ่งทีมผู้ดูแลรักษาประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพ แพทย์เชี่ยวชาญอายุรกรรมโรคไต แพทย์เชี่ยวชาญศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ แพทย์เชี่ยวชาญศัลยกรรมทรวงอกและหลอดเลือด ทีมห้องผ่าตัด เภสัชกร มีพยาบาลผู้จัดการรายกรณีดูแลตั้งแต่รับเข้ารักษาในโรงพยาบาลจนถึงวันจำหน่ายให้เป็นไปตามแผนการดูแลสหสาขาที่วางไว้ (Multidisciplinary care path of kidney transplantation)

ศัลยแพทย์ทรวงอกและหลอดเลือด ทีมผู้ดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไต ทีมผู้ดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไตประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพที่มี ความเชี่ยวชาญเพื่อให้ผู้ป่วยปลูกถ่ายไตได้รับบริการที่มีคุณภาพสูงสุด ผู้ป่วย แพทย์โรคไต ไตเทียม ทันตแพทย์ ทีมพยาบาล จิตแพทย์ ศัลยแพทย์ ทีมผ่าตัด ศูนย์ประกันฯ เภสัชกร กายภาพ ศัลยแพทย์ทรวงอกและหลอดเลือด

มีแผนการดูแลร่วมกันที่ชัดเจน กระบวนการดูแล มีแผนการดูแลร่วมกันที่ชัดเจน 1.เตรียมความพร้อมของผู้บริจาคไตและผู้รับไต 2.ประชุมทีมดูแลก่อนผ่าตัด 3.เตรียมห้องแยกปลอดเชื้อสำหรับหลังผ่าตัดโดยเฉพาะ 4.จัดทีมพยาบาลดูแลใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง 5.อยู่ภายใต้การดูแลรักษาของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 6.ให้คำแนะนำเรื่องยากดภูมิคุ้มกันโดยเภสัชกร 7.แนะนำการปฏิบัติตัวโดยพยาบาลผู้จัดการรายกรณี

จำนวนการผ่าตัดปลูกถ่ายไต ปัจจุบัน ปลูกถ่ายไต 108 ราย

การพัฒนาองค์ความรู้ และงานวิจัย เพื่อพัฒนาระบบการรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ - พัฒนาประสบการณ์การขอรับบริจาคอวัยวะของผู้ที่เป็น TC โดยทำเป็นโครงสร้างงานการขอรับบริจาคอวัยวะ - ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไต - ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการรับบริจาคอวัยวะ

ปัญหาด้านการปลูกถ่ายอวัยวะ ภาระงานแพทย์มาก ตำแหน่งงานถูกจำกัดจากจำนวนโควต้ากลาง

สวัสดี