งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
Performance Agreement : PA 2561 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (เป้าหมาย > ร้อยละ 85) ดร.จุฑาพัฒน์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 4 การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ

2 สถานการณ์วัณโรค เขตสุขภาพที่ 12

3 จำนวน เป้าหมายการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ปี 2560 = 8,320 ราย
จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนรักษาในเขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2555 – 2560 จำนวนที่ค้นพบ ขึ้นทะเบียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 4665 4227 3485 3573 3604 2484 2419 2139 2185 2199 1436 1033 793 741 757 820 630 579 448 486 429 452 จำนวน เป้าหมายการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ปี 2560 = 8,320 ราย ดำเนินการได้เพียง 56.1% 157 145 136 131 180 133 2555 2556 2557 2558 2559 2560 พ.ศ.

4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เขตสุขภาพที่ 12 ไตรมาสที่ 1/60 แยกตามจังหวัด
ข้อมูล ณ วันที่ 15 ธ.ค.2560 หมายเหตุ : ไม่สามารถประเมินผล หมายถึง อยู่ระหว่างการรักษาและโรงพยาบาลยังไม่ปิด case การรักษาในโปรแกรม TBCM

5 ตัวชี้วัด และ มาตรการดำเนินงาน

6 PA-TB 2561 Service Excellence แผนงาน : การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ โครงการเฉลิมพระเกียรติ ร. 10 (การดูแล ควบคุม ป้องกันวัณโรค) แผนงานที่ 8 Target / อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (เป้าหมาย > ร้อยละ 85) KPI No. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียนปี จำแนกรายจังหวัด Situation/ Baseline Situation : ความสำเร็จของการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคสะท้อนคุณภาพของระบบบริการสาธารณสุข และควบคุมวัณโรคโดย ตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค และป้องกันเชื้อวัณโรคดื้อยา ปัจจุบันอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคของประเทศ และ พื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 สงขลา ต่ำกว่าเป้าหมายประเทศ ที่ ร้อยละ 85 เนื่องจากปัจจัยสำคัญ 3 ประการ คือ (1) ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตระหว่างการรักษาสูง (2) การขาดนัดรับยาอย่างต่อเนื่อง และ (3) ไม่มีการติดตามประเมินผลการรักษา Strategy ยุทธศาสตร์ที่ 1 ลดตาย ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดการขาดยา ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษาทุกราย Key Activity 1.การเร่งค้นหา ลดความล่าช้าในการวินิจฉัยและรักษา - คัดกรองเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคเป้าหมาย เน้นการตรวจวินิจฉัยที่เร็ว ด้วย Molecular test Gene Xpert 2. พัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคอย่างต่อเนื่อง (Continue quality improvement : CQI) - การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค การประเมินคุณภาพการตรวจหาวัณโรคทางห้องปฏิบัติการ การใช้ระบบข้อมูลในการกำกับติดตามผู้ป่วย การศึกษาสาเหตุการตาย ระดับหน่วยบริการ 1.ดูแลรักษาโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient Centered Care) - จัดให้มีการดูแลผู้ป่วยด้วยการมีผู้จัดการประจำตัวผู้ป่วยแต่ละราย (TB case manager) การใช้ระบบข้อมูลในการกำกับติดตามผู้ป่วย 2. ดูแลผู้ป่วยร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เครือข่ายในพื้นที่ และให้การช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจและสังคม 1.พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วยวัณโรครายบุคคลเพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการรักษา -ระบบฐานข้อมูลโปรแกรม TBCM onlineและการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยที่ถูกต้องสม่ำเสมอ การกำกับและประเมินผลการรักษาผู้ป่วย การตรวจสอบคุณภพข้อมูล และ ติดตามผลการดำเนินงานวัณโรค 2. สร้างเครือข่ายหรือศูนย์กลางประสานการส่งต่อและติดตามผล (Referral center) Small Success ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รายงานผลการวิเคราะห์ สถานการณ์ ขนาดปัญหากลุ่มเสี่ยง/พื้นที่กลุ่มเป้าหมายและช่องว่างการดำเนินงานพร้อมกำหนดมาตรการแนวทางแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา รายงานผลกำกับและติดตามการดำเนินงานตามมาตรการที่กำหนด เพื่อลกการตาย การขาดยาและพัฒนาระบบการส่งต่อของพื้นที่เป้าหมาย รายงานผลการกำกับและติดตามการดำเนินงานตามมาตรการที่กำหนด เพื่อลดการตาย การขาดยาและพัฒนาระบบการส่งต่อของพื้นที่เป้าหมาย อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ≥ ร้อยละ 85 ** พื้นที่เป้าหมาย : ระดับจังหวัดวิเคราะห์รายอำเภอ / ระดับเขตสุขภาพ/สคร.วิเคราะห์รายจังหวัด และ ระดับประเทศวิเคราะห์รายเขตสุขภาพ/สคร.

7 มาตรการที่สำคัญ ดำเนินการในปี 2561
กิจกรรมดำเนินงาน การดำเนินงานค้นหา และ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค เชิงรุก ดำเนินการในทุกกลุ่มเสี่ยงวัณโรค เพื่อนำมาขึ้นทะเบียน และ เข้าสู่กระบวนการรักษา เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดเชื้อวัณโรค การบริหารจัดการและดูแลผู้ป่วยวัณโรค Case management มีผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่กำลังรักษารายบุคคล เพื่อติดตามการดูแล และ ให้การช่วยเหลือ ลดเสี่ยง การตาย และ การขาดการรักษา การพัฒนาระบบรายงานวัณโรค พัฒนาบุคลากรสามารถใช้โปรแกรมระบบรายงาน TBCM online ในทุกระดับ เพื่อการติดตามสถานการณ์โรค และ การบริหารจัดการผู้ป่วยวัณโรคในระดับพื้นที่ ผ่านการอบรม ประชุม และ การตรวจสอบข้อมูลในหน่วยให้บริการ การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค การจัดให้มีระบบบัญชาการเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขด้านวัณโรค ระดับเขต ระดับจังหวัด และ ระดับอำเภอ มาตรฐานการให้บริการด้านวัณโรค ระบบการติดตาม ประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค และ การประเมินคุณภาพการตรวจหาวัณโรคทางห้องปฏิบัติการ บูรณาการการดำเนินงาน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน และ ภาคประชาสังคม การป้องกันควบคุมวัณโรค

8 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/61
กิจกรรม ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ยุทธศาสตร์ที่ 1 ลดตาย 1.การเร่งค้นหา ลดความล่าช้าในการวินิจฉัยและรักษา : คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค เชิงรุก - จัดทำฐานข้อมูลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย 2. พัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคอย่างต่อเนื่อง (Continue quality improvement : CQI) - กำหนดโรงพยาบาลสำหรับรับประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค x ดำเนินการเสร็จเรียบร้อย อยู่ระหว่างดำเนินงาน ยังไม่ได้ดำเนินงาน

9 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/61 (ต่อ)
กิจกรรม ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดการขาดยา 1.ดูแลรักษาโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient Centered Care) - จัดให้มีการดูแลผู้ป่วยด้วยการมีผู้จัดการประจำตัวผู้ป่วยแต่ละราย (TB case manager) 2. ดูแลผู้ป่วยร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เครือข่ายในพื้นที่ และให้การช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจและสังคม สสจ./โรงพยาบาล รับทราบแนวทาง และ ดำเนินการตามแนวทาง NTP ได้รับการอบรมแนวทางการดำเนินงานวัณโรคแห่งชาติ x ดำเนินการเสร็จเรียบร้อย อยู่ระหว่างดำเนินงาน ยังไม่ได้ดำเนินงาน

10 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/61 (ต่อ)
กิจกรรม ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษาทุกราย 1.พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วยวัณโรครายบุคคลเพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการรักษา -ได้รับการอบรมโปรแกรม TBCM online ระบบรายงาน วัณโรค - เข้าร่วมประชุมการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ระดับเขต (13 ธันวาคม 2560) 2. สร้างเครือข่ายหรือศูนย์กลางประสานการส่งต่อและติดตามผล (Referral center) - การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรคระดับจังหวัด จัดทำร่างคำสั่ง รอลงนามคำสั่ง x ดำเนินการเสร็จเรียบร้อย อยู่ระหว่างดำเนินงาน ยังไม่ได้ดำเนินงาน

11 แผนประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพ การดูแลรักษาวัณโรค ปี 2561
จังหวัด โรงพยาบาล สงขลา สิงหนคร เทพา รัตภูมิ ตรัง วังวิเศษ สิเกา ย่านตาขาว นาโยง พัทลุง ควนขนุน ป่าพะยอม บางแก้ว ปากพะยูน นราธิวาส ระแงะ ตากใบ เจาะไอร้อง รือเสาะ ปัตตานี หนองจิก โคกโพธิ์ สายบุรี ปะนาเระ สตูล ควนโดน ทุ่งหว้า มะนัง ละงู ยะลา บันนังสตา ธารโต กรงปินัง

12 การขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค 1/2561 จำแนกรายจังหวัด (ข้อมูล ณ 18 ธันวาคม 2560, จาก TBCM online )
ฐานข้อมูลประชากรกลางปี 2559 เป้าหมายขึ้นทะเบียน 172: (a) (รายใหม่+กลับเป็นซ้ำ) เป้าหมายขึ้นทะเบียน 172: (82.5%เทียบจาก (a)) (b) ขั้นทะเบียนรวมทุกประเภท รายใหม่+กลับเป็นซ้ำ จำนวน (ราย) % เทียบ กับค่าเป้าหมาย (b) ตรัง 641,684 1,104 911 128 108 11.9 พัทลุง 523,723 901 743 67 66 8.9 สตูล 317,612 546 451 44 37 8.2 สงขลา 1,417,440 2,438 2,011 254 232 11.5 ปัตตานี 700,961 1,206 995 122 116 11.7 ยะลา 522,279 898 741 68 9.0 นราธิวาส 789,681 1,358 1,121 98 88 7.9 ภาพรวมเขต 4,913,380 8,451 6,973 781 714 10.2 ข้อมูลอาจมีปรับเปลี่ยนได้ จากฐานข้อมูลประชากรที่มีการปรับปรุง

13 แผนการดำเนินงาน ไตรมาส 2/61
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ลดตาย ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดการขาดยา ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษา ทุกราย 1.การเร่งค้นหา ลดความล่าช้าในการวินิจฉัยและรักษา ติดตามความก้าวหน้าคัดกรองเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคเป้าหมาย กำหนดปฏิทินการประชุมศึกษาสาเหตุการตายผู้ป่วยวัณโรค และ ดำเนินการ 2. พัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคอย่างต่อเนื่อง (Continue quality improvement : CQI) -กำหนดปฏิทินการลงเยี่ยมประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษา วัณโรค และ การประเมินคุณภาพการตรวจหา วัณโรคทางห้องปฏิบัติการ - กำหนดปฏิทิน การประชุมการศึกษาสาเหตุ การตาย จังหวัดปัตตานี (ไตรมาส 3) 1.ดูแลรักษาโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient Centered Care) - กำหนดแผนนิเทศ ติดตามการดำเนินงาน - 2. ดูแลผู้ป่วยร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เครือข่ายในพื้นที่ และให้การช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจและสังคม - ติดตามการดำเนินงาน 1.พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วยวัณโรครายบุคคลเพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการรักษา การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล TBCM online การติดตามการใช้ระบบรายงานโปรแกรม TBCM online ติดตามการขึ้นทะเบียน การส่งต่อ และ การประเมินผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ผ่านระบบ TBCM online จัดทำแผนจัดประชุม Ending TB Networking 2. สร้างเครือข่ายหรือศูนย์กลางประสานการส่งต่อและติดตามผล (Referral center) - ติดตามความก้าวหน้า การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการยุติปัญหาวัณโรค ระดับจังหวัด/ระดับอำเภอ

14


ดาวน์โหลด ppt ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google