งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
คณะที่ 2 ตรวจราชการและนิเทศงาน ปีงบประมาณ รอบที่ 1 (จังหวัดเชียงราย) นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์ (วันที่ 9 มกราคม 2562)

2 การบริหารและขับเคลื่อน service plan จังหวัดเชียงราย
Chiangrai Service Provider board Start 2559 กรรมการ (ประชุม 4 ครั้ง/ปี) 13ธค2560 ที่ปรึกษา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ประธาน ผู้อำนวยการ รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กรรมการ 50 ท่าน (ปี61 เพิ่ม รพ.สังกัดกระทรวงมหาดไทย/รพ.เอกชน/รพ.มหาวิทยาลัย ในจังหวัดเชียงราย) บทบาทหน้าที่ : วิเคราะห์ หาแนวทางปฎิบัติ กระตุ้นและติดตาม การดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน รายงานความก้าวหน้า ต่อที่ประชุม กวป. ตา, จิตเวช, มะเร็ง RDU, Palliative, ยาเสพติด, NCD, ปฐมภูมิ, ศัลยฯ MCH, Emergency, NCD 62 61 60 Emergency 59 (สาขาอื่นยังมีการพัฒนาต่อเนื่องทุกสาขา) (สาขาอื่นยังมีการพัฒนาต่อเนื่องทุกสาขา) Focused lanna3 Track lanna3 lanna3 lanna3

3 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 11 ประเด็น 16 ตัวชี้วัด
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็น 16 ตัวชี้วัด ประเด็น No KPI 1 Primary 1 ร้อยละของอำเภอมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)ที่มีคุณภาพ (60%) 2 ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) เป้าหมายกำหนดรายเขต 3 ร้อยละ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 3 ดาว ร้อยละ 100 ระดับ 5 ดาว ร้อยละ 60 2 TB 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ≥ ร้อยละ 85 3 RDU-AMR 5 ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) และร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ (RDU1≥95% RDU2≥20%) 4 FAST TRACK 6 ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke : I60-I69) น้อยกว่าร้อยละ 7 7 ลดอัตราการเสียชีวิตภาวการณ์ติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ใน รพ. น้อยกว่าร้อยละ 30 8 อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชม. ในโรงพยาบาล ระดับ A, S, M1 (≤ 12)

4 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 11 ประเด็น 16 ตัวชี้วัด
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็น 16 ตัวชี้วัด ประเด็น No KPI 5 ยาเสพติด 9 ผู้ติด ยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบและได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20 6 SP สาขาสุขภาจิตและจิตเวช 10 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร 7 SP สาขาไต 11 ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR <4ml/min/1.73m2/yr (66%) 8 การพัฒนาระบบบริการ ODS 12 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด One Day Surgery ร้อยละ 20 9 SP สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ 13 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ. ≥0.8:100 ผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ.A, S 14 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคดวงตา ต่อผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ. ≥1.3:100 ผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ.A, S 10 สาขาแพทย์แผนไทย 15 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18.5 11 สาขาหัวใจ 16 อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 26/แสน ปชก.

5 ร้อยละของอำเภอมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)ที่มีคุณภาพ (60%)
Primary - มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ พชอ. 18 อำเภอ ร้อยละ 100 - มีประเด็นคุณภาพชีวิตเพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาอย่างน้อย 2 เรื่อง/อำเภอ ร้อยละ 100 สถาน การณ์ นวัตกรรม 1. ถ่ายทอดแนวทางการขับเคลื่อน พชอ. แบบบูรณาการ ( พชอ./ พชต./ อสม./ อสค./จิตอาสาฯ) 2. เสริมความเข้มแข็งคณะกรรมการ พชอ. (ภาวะการนำ/บูรณาการ/การมีส่วนร่วม) 3. การสื่อสารสาธารณะ 4. การจัดการความรู้ 5. การเยี่ยมเสริมพลัง (บูรณาการกับ รพ.สต.ติดดาว) มาตรการ ที่สำคัญ : แม่ลาว (การดูแลกลุ่มเปราะบาง ด้วยเครือข่ายจิตอาสา) : เวียงแก่น (คุ้มครองผู้บริโภค) : เวียงชัย (ลด–ละ-เลิกสุรา) การ ดำเนินงาน การถ่ายทอดแนวทางการพัฒนา พชอ. แบบบูรณาการ สู่ระดับอำเภอ/ตำบล  มีประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตประเด็นสำคัญตามบริบทในพื้นที่อย่างน้อย ๒ประเด็น/อำเภอ ปัญหา/ เสนอแนะ 1.ควรมีงบประมาณสนับสนุนการปฏิบัติการหรือขับเคลื่อนเชิงประเด็น 2.การเสริมสมรรถนะสำนักงานเลขานุการ 3.การประสานในระดับนโยบายกับหน่วยงานมหาดไทย 3 เดือน -มีการถ่ายทอดแนวทางการพัฒนาพชอ. แบบบูรณาการ สู่ระดับอำเภอ/ตำบล -มีประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตประเด็นสำคัญตามบริบทในพื้นที่อย่างน้อย ๒ประเด็น/อำเภอ 6 เดือน - มีคณะทำงานและการขับเคลื่อนพัฒนาประเด็นคุณภาพชีวิตตามที่พื้นที่กำหนด -มีการเสริมศักยภาพ พชอ./สำนักเลขานุการ ( CBL) -มีช่องทางการสื่อสารสาธารณะ ( ข่าวสื่อมวลชน FB ฯลฯ ) 9 เดือน -มีการยี่ยมเสริมพลังและประเมินผลการดำเนินการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ตามแนวทาง UCCARE -ถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบเพื่อ เพื่อขยายผล ( 3 อำเภอ) 12เดือน อำเภอมีการดำเนินการและผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการพัฒนาคุณภาพชีวิต ร้อยละ ๖๐

6 การขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ปี2562
จังหวัดเชียงราย เอกสาร ตก.1

7 PCC Primary - Mapping 107 Team 40 Cluster ปี 2561 เปิดดำเนินการ 19 ทีม
- ปี มีแผนเปิดใหม่ 10 ทีม รวมทั้งหมด 29 ทีม สถาน การณ์ 1.พัฒนาคลินิกหมอครอบครัวคุณภาพจังหวัดเชียงราย ตามกรอบแนวคิดเป้าหมายหลักTriple Aim (Improving patient care/ Improving the health of populations /Reducing cost) 2. การพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศ Smart COC PCC link 3. การวิจัยและพัฒนา และการจัดการความรู้ มาตรการ ที่สำคัญ การ ดำเนินงาน จัดทำแนวทางการพัฒนาPCCคุณภาพ จังหวัดเชียงราย - กำหนดเกณฑ์ชี้วัด PCC คุณภาพ - กำหนดประเด็นร่วมการขับเคลื่อน PCC (Small Success PCC) ศูนย์เรียนรู้ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวระดับจังหวัด (รพ.เชียงรายฯ เป็นแม่ข่าย ) - วางแผนการผลิตและพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว - พัฒนาระบบสารสนเทศ Smart COC / PCC link (รพ.เชียงรายฯ พัฒนานำร่อง เขต 1) - วิจัยและพัฒนา โดยการจัดการความรู้และการวิจัย IR-PCC (รพ.เชียงรายฯ เป็นตัวแทน เขต 1)

8 PCC Primary : PCC ป่างิ้ว (วปป.) : Smart COC นวัตกรรม ปัญหา/ อุปสรรค
1.ความรู้ความเข้าใจของทีมคลินิกหมอครอบครัวที่ยังไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน (แนวคิด หลักการ วิธีการทำงาน) 2.แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไม่เพียงพอ ข้อ เสนอแนะ ควรเน้น Function PCC มากกว่า Staff ( FM ปฏิบัติงานอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์) : PCC ป่างิ้ว (วปป.) : Smart COC นวัตกรรม

9 รพสต.ติดดาว Primary นวัตกรรม สถาน การณ์ มาตรการ ที่สำคัญ : DHSA
ร้อยละ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 3 ดาว ร้อยละ 100/ระดับ 5 ดาว ร้อยละ 60 Primary สถาน การณ์ ระดับ 5 ดาว จำนวน 85 แห่ง ร้อยละ ระดับ 4 ดาว จำนวน 49 แห่ง ร้อยละ ระดับ 3 ดาว จำนวน 38 แห่ง ร้อยละ ระดับ 1-2 ดาวจำนวน 44 แห่ง ร้อยละ 1. ทำคู่มือ/แนวทางการขับเคลื่อนและพัฒนา รพ.สต.ติดดาว จังหวัดเชียงราย 2. ทำคำสั่งแต่งตั้ง คกก./พี่เลี้ยงรพ.สต.ติดดาว ระดับอำเภอ 3. อบรมพี่เลี้ยง รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัดและอำเภอ 4. การประเมินตนเองของ รพ.สต. 5. พัฒนาและประเมิน โดยทีมระดับอำเภอ และจังหวัด มาตรการ ที่สำคัญ นวัตกรรม : DHSA CUP เวียงป่าเป้า การ ดำเนินงาน มีแนวทางการขับเคลื่อนและพัฒนา รพ.สต.ติดดาว จังหวัดเชียงรายและถ่ายทอดไปสู่อำเภอ อบรมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและอำเภอ 120 คน ( ธค.61) 1.สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ (สสป.) ควรมีการพัฒนาหน่วยงานที่ทำหน้าที่พัฒนาทีมพี่เลี้ยง/ประเมินรับรอง 2.ความซ้ำซ้อนของการประเมิน เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาว ของหน่วยงาน/กรม กองต่างๆ 3.ระดับเขต/ประเทศ ควรจัดอบรมฟื้นฟูศักยภาพทีมเยี่ยมเสริมพลัง/มีความเข้าใจตรงกัน 4.มีหน่วยงาน/องค์กร ที่ทำหน้าที่ประเมินเพื่อให้มีมาตรฐานเดียวกัน ปัญหา/ เสนอแนะ District Health System Accreditation (DHSA) การประเมินและรับรองระบบสุขภาพระดับอำเภอ สปป. (สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ) 3 เดือน 1.มีแนวทางการขับเคลื่อนและพัฒนา รพ.สต.ติดดาว จังหวัดเชียงราย 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีมพี่เลี้ยง/ประเมิน ระดับจังหวัดและอำเภอ 6เดือน 1.แต่งตั้งทีมพี่เลี้ยง/ทีมประเมินระดับจังหวัด ๑ ทีม อำเภอ 18ทีม 2.รพ.สต.ทุกแห่งประเมินตนเอง (216 แห่ง) 3.รพ.สต.ทุกแห่งมีผลการประเมินตนเองเพื่อพัฒนา 9เดือน 1.รพ.สต. ทุกแห่งมีทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำและสนับสนุนทรัพยากรในส่วนที่ขาดแคลนเพื่อรับการประเมิน 2.รพ.สต.ทุกแห่ง ได้รับการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ในระดับอำเภอ 3.รพ.สต.ทุกแห่ง ได้รับการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ในระดับจังหวัด 12เดือน 1.รพ.สต.ร้อยละ ๑๐๐ ( 216 แห่ง)ได้รับการประเมินรพ.สต.ติดดาว ในระดับอำเภอ 2.รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ ๓ ดาว ร้อยละ ๑๐๐ ( 216 แห่ง) 3.รพ.สต.ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ ๕ ดาว ร้อยละ ๖๐ (130 แห่ง)

10 RDU-AMR RDU-AMR สถาน การณ์
ที่มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ (RDU1≥95% RDU2≥20%) RDU-AMR สถาน การณ์

11 Small success เป้าหมาย ปี 2562
RDU ขั้นที่ 1 > ร้อยละ 95 RDU ขั้นที่ 2 > ร้อยละ 20 AMR ระดับ Intermediate เน้นการจัดทำ Self Assessment RDU ขั้นที่ 1 > ร้อยละ 95 RDU ขั้นที่ 2 > ร้อยละ 20 AMR ระดับ Intermediate > ร้อยละ 20

12 AMR

13 เป้าหมาย : พัฒนา IT ของ AMR สู่ระบบ
CDSS (Computerized Clinical Decision Support Systems)

14 RDU-AMR นวัตกรรม RDU-AMR ปัญหา/ เสนอแนะ
ที่มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ (RDU1 ≥ 95% RDU2 ≥ 20%) RDU-AMR RDU-AMR ปัญหา/ เสนอแนะ ระบบประมวลผลกลาง (HDC แม้ว่ามีการปรับปรุงการรายงานจากฐานข้อมูล 43 แฟ้มทำให้สามารถดูข้อมูลได้ครอบคลุมตัวชี้วัดที่มากขึ้น แต่พบว่าข้อมูลยังมีความคลาดเคลื่อน ไม่ตรงกับที่ โรงพยาบาลรวบรวมได้ จาก RDU 2016 ทำให้ผลการรายงานข้อมูลมีความคลาดเคลื่อน) โปรแกรม Antimicrobial Auto Alert System - ควบคุม กำกับและติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มเป้าหมาย (Drug Utilization Evaluation, DUE) เฝ้าระวัง จัดทำและรายงานอุบัติการณ์ นวัตกรรม

15 Sepsis ลดอัตราการเสียชีวิตภาวการณ์ติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ใน รพ. น้อยกว่าร้อยละ 30 (1) อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired น้อยกว่าร้อยละ 30 (2) อัตราการเจาะ H/C ก่อนให้ Antibiotic ≥ ร้อยละ 90 (3) อัตราการได้รับ Antibiotic ภายใน 1 ชม. (นับจากเวลาที่ได้รับการวินิจฉัย) ≥ ร้อยละ 90 (4) อัตราการได้รับ IV fluid 30 ml/kg ใน 1 ชม.แรก (ในกรณีไม่มีข้อห้าม) ≥ ร้อยละ 90 (5) อัตราที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบภาวะวิกฤติ (ระดับ 2-3) ภายใน 3 ชม. ≥ ร้อยละ 30 FAST TRACK อัตราการตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ปี 2561 ร้อยละ ซึ่งยังสูงกว่าเกณฑ์ (ร้อยละ 30) สถาน การณ์ 1. สร้างระบบ Sepsis fast track ในจังหวัด 2. มีทีมสหสาขาวิชาชีพของรพ. แต่ละระดับ 3. สร้างระบบ rapid response system และทีม rapid response team ในโรงพยาบาล มาตรการ ที่สำคัญ

16 Sepsis FAST TRACK ผลการ ดำเนินงาน ปัญหา/ เสนอแนะ
ลดอัตราการเสียชีวิตภาวการณ์ติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ใน รพ. น้อยกว่าร้อยละ 30 FAST TRACK ผลการ ดำเนินงาน ข้อมูล ต.ค. – พ.ย. 61) 1.อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ร้อยละ 34.13 2.อัตราการเจาะ H/C ก่อนให้ Antibiotic ร้อยละ  3.อัตราการได้รับ Antibiotic ภายใน 1 ชม. (นับจากเวลาที่ได้รับการวินิจฉัย) ร้อยละ  4.อัตราการได้รับ IV 30 ml/kg ใน 1 ชม.แรก (ในกรณีไม่มีข้อห้าม) ร้อยละ 80.00 5.อัตราที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลในไอซียู ภายใน 3 ชม. ร้อยละ 76.66 ปัญหา/ เสนอแนะ การให้สารน้ำ sepsis guideline 2016 นั้นให้ 30 ซีซีต่อกิโลกรัม ภายใน 3 ชั่วโมง แต่ในนโยบายนี้ คิด ลงข้อมูลของสารน้ำดังกล่าวภายใน 1 ชั่วโมง เกิดความแตกต่างกับแนวทางปฏิบัติ ศักยภาพการดูแลของโรงพยาบาลระดับ M ไม่สามารถดูแลผู้ป่วย Shock และ respiratory failure การขับเคลื่อนดำเนินงานระบบ rapid response system และทีม rapid response team ยังไม่ชัดเจนเป็นรูปธรรม ผลการดำเนินงานเมื่อเทียบตัวชี้วัดระดับประเทศ อัตราตายยังสูงมากกว่าร้อยละ 30 จำนวนเตียง ICU ไม่เพียงพอ ระบบข้อมูล Sepnet1 ยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูล และขาดความน่าเชื่อถือ

17 Trauma FAST TRACK สถานการณ์ :
อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชม. ในโรงพยาบาล ระดับ A, S, M1 (≤ 12) Trauma ประเด็นหลัก : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ หัวข้อ : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ ตัวชี้วัดตรวจราชการ : อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน ๒๔ ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M๑ (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ ๑๒ FAST TRACK สถานการณ์ : ผู้ป่วยระดับ 4-5 มีจำนวนเพิ่มขึ้น มาตรการดำเนินการที่สำคัญ : ขยายพื้นที่บริการ พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินและการส่งต่อ ลดความแออัดในรพ.ศูนย์และเพิ่มศักยภาพการดูแลผู้ป่วยในรพ.ชุมชน

18 นวัตกรรม Trauma FAST TRACK ผลการ ดำเนินงาน ปัญหา/ เสนอแนะ
สิ่งที่ดำเนินการ : อาคารอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 14 ชั้น รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ พัฒนาระบบ Ambulance Operation Center พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บไม่รุนแรง จ.เชียงราย FAST TRACK ผลการ ดำเนินงาน ข้อมูล ต.ค. – ธ.ค. 61) อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมงในระดับ A,S,M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) เกณฑ์ <12 ปีงบประมาณ 2562 (ต.ค.61-พ.ย.61) = 1.53 ปัญหา/ เสนอแนะ 1) การบริหารจัดการรถพยาบาลปลอดภัย ควรมีนโยบายหรือกฎหมายที่สอดคล้องกับนวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่ มีการติดตามอย่างต่อเนื่อง จะทำให้การดำเนินการของพื้นที่เพื่อสร้างความปลอดภัยทำได้ง่ายและยั่งยืน 2) ER มีความแออัด จากการใช้บริการของผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินจำนวนมากควรมีนโยบายจากกระทรวงที่ชัดเจน ในการจัดตั้ง OPD. ทั่วไปนอกเวลาราชการ โดยเฉพาะในระดับโรงพยาบาล A เพื่อตอบรับนโยบายลดความแออัดในห้องฉุกเฉิน 1.Ambulance Operation Center 2.Guideline การดูแลและส่งต่อผู้ป่วยสมองบาดเจ็บไม่รุนแรง จ.เชียงราย, แนวทางการประเมินและดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในสถานพยาบาล, Fast track การทำ CT Brain , Application การดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บไม่รุนแรง, ฐานข้อมูลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บไม่รุนแรง ) 3. โปรแกรม IS และ Pher บูรณาการข้อมูลให้เป็นข้อมูลพื้นฐานระดับจังหวัด นวัตกรรม

19 (Retention Rate) เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20
ผู้ติดยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบและได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20 ยาเสพติด 1. ร้อยละ 20 ของผู้ติดยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบ และได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) 2. ร้อยละ 40 ของผู้ใช้ ผู้เสพที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัด 3 เดือน (3 months Remission Rate) มีการระบาดของยาเสพติด เข้ามาทางชายแดนมากขึ้น ประชากร จ.เชียงราย มีผู้ใช้ยาเสพติดประมาณ 4,200 คน สถาน การณ์ 1.ส่งเสริมป้องกัน ไม่เสพยาเสพติด 2.บำบัด ฟื้นฟู ลดอันตรายจากยาเสพติด และกลับคืนสู่สังคม 3.พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน และ ภาคีเครือข่าย มาตรการ ที่สำคัญ A1. เสริมสร้างความตระหนักและภูมิคุ้มกันยาเสพติดในทุกกลุ่มวัย A2. ดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE อย่างจริงจังต่อเนื่อง A3. เพิ่มการเข้าถึงในการบำบัดฟื้นฟู A4. เพิ่มการเข้าถึงการลดอันตรายจากยาเสพติด A5. เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามและการกลับคืนสู่สังคมของผู้เสพยาเสพติด A6. กำกับดูแลมาตรฐาน A7. สร้างเสริมการบำบัดฟื้นฟูโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง (CBTx)” การ ดำเนินงาน

20 ยาเสพติด ผลการ ดำเนินงาน ปัญหา/ เสนอแนะ
(ข้อมูล ต.ค. – ธ.ค. 61) 1.ร้อยละ 20 ของผู้ติดยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบ และได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาแบบครบกำหนด วันที่ 1 ตุลาคม – 22 ธันวาคม 2561 จำนวน 280 คน ติดตามครบตามเกณฑ์ จำนวน 43 คน ร้อยละ 15.36 2. ร้อยละ 40 ของผู้ใช้ ผู้เสพที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัด 3 เดือน (3 months Remission Rate) ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาแบบครบกำหนด วันที่ 1 ตุลาคม – 22 ธันวาคม 2561 จำนวน 322 คน ติดตามครบตามเกณฑ์ จำนวน 217 คน ร้อยละ 18.63 1. บุคลากรบำบัดฟื้นฟูไม่เพียงพอในการรองรับ 2. ขาดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 3. ขาดกลไกที่มีประสิทธิภาพในการนำผู้เสพกลับสู่สังคม 4. ส่งบุคลากรเข้าพัฒนาศักยภาพการบำบัดฟื้นฟูในสถาบันการศึกษา 5. สสจ. เป็นผู้ประสานงาน เชื่อมต่อและแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด 6. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการนำผู้เสพผู้ติดเข้ารับการบำบัดและส่งต่อสู่สังคม ตามแนวทาง ประกาศ คสช. ที่ 108/2557 ปัญหา/ เสนอแนะ

21 ยาเสพติด 7 มาตรการ การ ดำเนินงาน
การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามแนวทางโครงการร้อยใจรักษ์จังหวัดเชียงราย ยาเสพติด การ ดำเนินงาน เป้าหมายหลัก เพื่อสกัดกั้นยาเสพติด จากนอกประเทศ สร้างแนวป้องกันชายแดนที่มีความเข้มแข็ง พื้นที่เป้าหมาย 4 จังหวัด 19 อำเภอ 33 ตำบล ชายแดน เชียงราย(9) 1.แม่จัน 2.แม่ฟ้าหลวง 3.แม่สาย 4.เชียงแสน 5.เชียงของ 6.เวียงแก่น 7.เทิง ( 7 ชายแดน ) 8.พญาเม็งราย 9.เวียงเชียงรุ้ง ( 2 อำเภอตอนใน ) ระยะเวลา 4 ปี (2562 – 2565) 1.แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างในพื้นที่เป้าหมาย 2.สกัดกั้น ยาเสพติด สารตั้งต้น และเคมีภัณฑ์ 3.สืบสวน ปรามปราม กลุ่มการค้าและอิทธิพล 4.ป้องกันยาเสพติด โดยใช้พลังประชาชนต่อต้านยาเสพติด 5.บำบัดรักษายาเสพติด (พัฒนาระบบคัดกรอง ส่งต่อและการบำบัดรักษา) 6.ฟื้นฟูและพัฒนาตามแนวทางศาสตร์พระราชา ปรับฐานคิดชุมชนสู่ความยั่งยืน 7.บริหารจัดการและการบูรณาการ 7 มาตรการ

22 นำผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด เข้าสู่ระบบการบำบัด
กำหนดเป้าหมายในการนำผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด เข้าสู่ระบบการบำบัดฟื้นฟู ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ลำดับ ชื่ออำเภอ นำผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด เข้าสู่ระบบการบำบัด แบบสมัครใจ ผลงาน ร้อยละ 1 ขุนตาล 20 0.00 2 เชียงของ 79 7 8.86 3 เชียงแสน 70 4 ดอยหลวง 13 7.69 5 เทิง 298 8 2.68 6 ป่าแดด 17 พญาเม็งราย พาน 48 14 29.17 9 เมืองเชียงราย 2,071 302 14.58 10 แม่จัน 214 4.21 11 แม่ฟ้าหลวง 261 232 88.89 12 แม่ลาว 39 แม่สรวย 620 78 12.58 แม่สาย 100 14.00 15 เวียงแก่น 64 16 เวียงชัย 50 เวียงเชียงรุ้ง 40 18 เวียงป่าเป้า 68 2.94 4,142 667 16.10

23 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร
สุขภาพจิตและจิตเวช SP สาขา สุขภาพจิต และจิตเวช ผู้ป่วยด้วยโรคทางจิตเวชที่สำคัญเข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพิ่มขึ้น - โรคจิต ร้อยละ67 - โรคซึมเศร้า ร้อยละ60 - Autistic ร้อยละ10 - ADHD ร้อยละ10 ผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการเฝ้าระวังและติดตามดูแลเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ ร้อยละ50 ยังพบปัญหาอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จสูง การใช้สุรา สารเสพติด การส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน และผู้ป่วยจิตเวชซับซ้อน รับการรักษาโรงพยาบาลจิตเวชระดับที่เหนือกว่าในปริมาณมาก สถาน การณ์ -พัฒนากรอบอัตรากำลังบุคลากรทั้งจังหวัด -การพัฒนาด้านสถานที่บริการ -การพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวชให้แก่แพทย์ทั่วไป แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว -พัฒนาการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า โรคจิตเภท โรคสมาธิสั้น โรคออทิสติก -ให้บริการจิตเวชที่ได้มาตรฐาน -การติดตามดูแลผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายไม่ให้ฆ่าตัวตายซ้ำตามแนวทางมาตรฐาน มาตรการ ที่สำคัญ การ ดำเนินงาน 1. เพิ่มการเข้าถึงการให้บริการ 2. การรักษาใกล้บ้าน ลดความแออัด (สนับสนุนยาจิตเวช รพช/จิตเวชสัญจร) 3. การติดตามดูแล : เชื่อมโยงกับงาน COC 4. พัฒนา Acute care/รับ Refer ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน 5. พัฒนาระบบ Refer back 6. พัฒนางานสุขภาพจิตควบคู่ไปกับงานยาเสพติด

24 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร
สุขภาพจิตและจิตเวช SP สาขา สุขภาพจิต และจิตเวช ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน 2561 ผลงานรอบที่ 1/2562 1.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ร้อยละ 60 68.62 62.89 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการ ร้อยละ 67 86.93 89.42 3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวชเด็ก (ADHD)เข้าถึงบริการ ร้อยละ 10 29.79 33.06 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวชเด็ก (ASD)เข้าถึงบริการ 100 5.ร้อยละของผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง น้อยกว่าร้อยละ 6.0 8.46 0.62 6. ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการเฝ้าระวัง และติดตามดูแลเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ ร้อยละ 50 95.13 (ต.ค.-20ธ.ค.) นวัตกรรม โปรแกรม 3 ส.ในการเฝ้าระวัง/ป้องกัน Suicide โดยบูรณาการกับกลไกท้องถิ่น พชอ. เชียงแสน,พญาเม็งราย, ขุนตาล, แม่สรวย, แม่จัน อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ข้อ4. ร้อยละการเข้าถึงผู้ป่วยออติสติก คำนวณจากจำนวนประชากร คน จำนวนประมาณการ (ร้อยละ 0.6)=311 ปี 2561 เข้าถึง 526 คิดเป็นร้อยละ / ปี 2562 จำนวนประมาณการ=311 เข้าถุึง 531 ติดเป็นร้อยละ (ยอดสะสม) ข้อ5. ร้อยละของผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง ผลได้ร้อยละ0.62 ของ ฆ่าตัวตาย เป็นยอดรวมของ ต.ค.-ธ.ค. 61 ค่ะ รายละเอียด แต่ละอำเภอรอส่งจาก สสจ. (คำนวณ จาก แสนประชากร) ได้ข้อมูล 3 อำเภอ (เมือง/เทิง/แม่สาย) อำเภอที่เหลือรอข้อมูล

25 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร
สุขภาพจิตและจิตเวช SP สาขา สุขภาพจิต และจิตเวช ปัญหาอุปสรรค ระบบลงรายงานฐานข้อมูล ยังพบปัญหาในบางตัวชี้วัดที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล HDC เช่น อัตราการฆ่าตัวตาย ขาดข้อมูลภาพรวมบุคลากรทำงานหลายด้าน สถานที่การให้บริการทางสุขภาพจิตยังไม่อำนวยความสะดวกในการทำงาน หลังจากมีการบูรณาการ งานยาเสพติดกับงานจิตเวช การปรับนโยบายการบำบัดยาเสพติด ขาดพื้นที่ที่ใช้รองรับผู้รับการบำบัดรายใหม่ ยังขาดพื้นที่ในการรองรับการดูแล acute care แก้ปัญหาโดยการใช้ร่วมกับพื้นที่ในคลินิกจิตเวชทำให้เกิดความแออัด ขาดการวางแผนอัตรากำลัง พื้นที่ให้บริการ ในระดับกระทรวงในการรองรับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นของงานสุขภาพจิตและยาเสพติด ปัจจุบันอัตรากำลังงานยาเสพติดกับสุขภาพจิตยังใช้ร่วมกัน เป็นภาระงานหนัก FTE ภาระงานที่ชัดเจน ทบทวนโครงสร้างบุคลากรตั้งแต่ระดับสสจ.ถึงรพช เพื่อความก้าวหน้าและการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การบรรจุตัวชี้วัดกระทรวงลงในตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน เพื่อให้เกิดผลงาน มีงบประมาณในการทำงานที่ชัดเจน หลายงานต้องใช้วิธีบูรณาการเพื่อให้เกิดงาน เนื่องจากขาดงบประมาณ ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจปัญหาสุขภาพจิต มีระบบการบันทึกข้อมูลที่ไม่ซ้ำซ้อน และสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้จริง พัฒนาการทำงานร่วมกับเครือข่าย พัฒนาสถานที่รองรับการให้บริการ ข้อเสนอแนะ

26 จำนวนผู้ป่วยจิตเวชที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดเชียงรายส่งต่อไปสวนปรุง (ผู้ป่วยใน)
ปี มีใบส่งตัว ไม่มีใบส่งตัว IPD OPD 2557 292 658 363 3109 2558 353 821 330 3036 2559 373 1169 315 2901 2560 383 1089 300 2817 2561 160 484 138 1253 2562 (ต.ค. – ธ.ค. 61) 43

27 ไต ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR <4ml/min/1.73m2/yr (66%) SP สาขาไต สถาน การณ์ จ.เชียงราย ผู้ป่วย CKD 16,261 คน stage 1 =1611 คน (9.91 %) stage 2 = 3,448 คน (21.20 %) stage 3 = 7,531 คน (46.20%) stage 4 =2,715 คน (26.70 %) และ stage 5 =974 คน (5.99 %) จำนวนผู้ป่วยโรคไตเพิ่มจำนวนมากขึ้น (ข้อมูล จาก HDC data 20/12/2561) 1. พัฒนาคุณภาพ CKD Clinic ,พัฒนาการลงข้อมูล 43 แฟ้ม , HDC data 2. พัฒนาทำแนวทางดูแลผู้ป่วย CKD ของทั้งจังหวัด 3. พัฒนาการทำแนวทางคัดกรอง CKD ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 4. ควบคุมกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ 5. ขยายบริการ CAPD , HD 6. พัฒนา CKD & CAPD Network , Palliative care จ. เชียงราย มาตรการ ที่สำคัญ 1.คัดกรอง CKD ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง (DM, HT) ร้อยละ 80 2.จัดบริการ CKD Clinic ใน รพ.ระดับ F1-F 3 ขึ้นไป ร้อยละ 100 ให้มีคุณภาพ 3.ควบคุมกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมผ่านการประเมินคุณภาพ ตรต. 4.ให้บริการบำบัดทดแทนไต (HD, CAPD) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ร้อยละ 60 5.Palliative care ใน CKD stage 5 ที่ไม่ทำ HD, CAPD สิ่งที่ ดำเนินการ

28 ไต SP สาขาไต ผลการดำเนินงาน ปัญหา/ เสนอแนะ
ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR <4ml/min/1.73m2/yr (66%) SP สาขาไต ผลการดำเนินงาน ผลงาน : ข้อมูล ต.ค. – ธ.ค. 61 ค่าเป้าหมาย ผลงานรอบ 1 1. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ≥ 66 % % 2. หน่วยบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุขผ่านการประเมินคุณภาพจาก ตรต. 100 % 100 % 3. ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ≥80 % % ปัญหา/ เสนอแนะ การพัฒนา CKD clinic ให้มีประสิทธิภาพเพื่อชะลอผู้ป่วย RRT พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบใน CKD clinic เพิ่มบุคลากรใน CKD คลินิก ควรมีการเจาะตรวจ creatinine 2 ครั้ง/ปี เพื่อประเมินการลดลงของไต การนำเข้าข้อมูลให้ถูกต้องและน่าเชื่อถือ HDC ประสานความร่วมมือในเครือข่ายร่วมดูแล รพสต รพช ขยาย NODE ควรมีการประชาสัมพันธ์ในระดับประเทศ โดยการออกสื่อ ,โฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ทั่วถึงและใช้สื่อทุกประเภท ทีวี วีดีโอ โฆษณา ให้เห็นความสำคัญโรคไต มีสื่อ ทีวี ประชาสัมพันธ์โรคไต ระหว่างผู้ป่วยรอตรวจ การประสานความร่วมมือในเครือข่ายร่วมดูแลผู้ป่วยโรคไต รพสต รพช ขยาย NODE ให้ถึงชุมชน มีการประสานงานระหว่าง รพ.ศูนย์ รพช. รพสต. และหน่วยงานในชุมชน อสค. อสม. และหน่วยงานเยี่ยมบ้าน มีทีมรักษ์ไต มีสถานที่ในการดำเนินการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติในขณะรอตรวจ

29 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด One Day Surgery ร้อยละ 20
ODS ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด One Day Surgery ร้อยละ 20 การพัฒนา ระบบบริการ ODS สถานการณ์ : ในปี 2562 ( ต.ค. –ธ.ค. 61 ) - ปี 2561 รพ.เชียงรายฯ ผู้ป่วยใน 699,850 ราย อัตราครองเตียง ผู้ป่วยด้านศัลยกรรม 73,756 ราย (เป็นผู้ป่วยกลุ่มโรค ONE DAY SURGERY จำนวน 13,126 ราย) อัตราการครองเตียง และ ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยด้านศัลยกรรม 2 เดือน - ปี 2562 (ต.ค – ธ.ค 61) จำนวนผู้ป่วยนอน ด้านศัลยกรรม 4,011 ราย อัตราครองเตียง และ สามารถทำหัตถการโรคได้ 6 หัตถการ ในโครงการODS ได้แก่ Inquinal hernia, Hydrocele, Hemorrhoid, Common Bile duct stone, Esophagogastric varices, Colorectal polyp นวัตกรรม มาตรการ ที่สำคัญ 1.มีคณะกรรมการและทีมดูแลโครงการ 2.จัดทำ Flow ในการดูแลทั้งก่อนและหลังทำหัตถการทั้งภายใน รพ. และเครือข่าย 3.เตรียมความพร้อมของแพทย์ในการพัฒนาระบบ วินิจฉัย การดูแล และ การส่งต่อ 4.จัดทำโครงการ ODS และจัดตารางศัลยแพทย์ลงพื้นที่ ในโรงพยาบาลที่เป็น NODE 5.เพิ่มขยายศักยภาพในการผ่าตัดแบบ ODS ไปยัง รพช.ที่มีห้องผ่าตัด ทีมผ่าตัดและเครื่องมือพร้อม 1.ระบบการดูแลต่อเนื่อง กลุ่ม Line การดูแลผู้ป่วย 2.โครงการจัดระบบการตรวจเตรียมพร้อมก่อนผ่าตัด รพ.ใกล้บ้าน 1.เพิ่มศักยภาพ อัตรากำลัง การฝึกอบรม ระบบหมุนเวียนศัลยแพทย์ วิสัญญีแพทย์ ในโรงพยาบาลที่ขาดแคลน 2.สนับสนุนทรัพยากร ใน รพ.ที่ขาดแคลน 3.พัฒนาโปรแกรมที่สามารถอำนวยความสะดวกอย่างต่อเนื่อง เช่น การบันทึก การเบิกจ่าย 4.การจัดทำระบบการดูแล One Day Surgery 5.ระบบการเบิกจ่ายใน case ODS ยังไม่ชัดเจน 6.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อนเข้ารับการบริการแบบ One day Surgery 7.พัฒนาระบบการดำเนินงานและการจัดทำ Care Map จาก รพ.ต้นแบบ (รพ.ราชวิถี) 8.ประชาสัมพันธ์โครงการหาผู้ป่วยและจัดทำแบบสอบถามเพื่อสำรวจความต้องการของผู้ป่วย ปัญหา/ เสนอแนะ

30 รพ.เชียงรายฯ(ราย) ทั้งหมด
โรคเป้าหมาย รพ.เชียงรายฯ(ราย) ทั้งหมด รพ.เชียงรายฯ(ราย) ODS รพ.แม่ลาว(ราย) ODS รวม (%) 1.Inquanal hernia 74 14 18.93 2.Hydrocele 15 5 33.33 3.Hemorrhoid 46 21 45.65 4.Vaginal bleeding 5.Esophagogastric varices 96 33 34.38 6.Esophageal stricture 3 7.Esophagogastric cancer with obstruction 8.Colorectal polyp 24 6 25.00 9.Common bile duct 26 1 3.85 10.Pancreatic duct stone 11.Bile duct stricture 4 12.Pancreatic duct stricture รวม 291 80 27.49% ODS การพัฒนา ระบบบริการ ODS ผลงาน (รอบ1) : (ข้อมูล ต.ค.–ธ.ค.61) = 27.49%

31 Transplant SPสาขา ปลูกถ่าย อวัยวะ สถาน การณ์ สิ่งที่ดำเนินการ
1.อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (เป้าหมาย ≥ 0.8 : 100 ผู้ป่วยเสียขีวิตใน รพ.A, S) 2.อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคดวงตา ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (เป้าหมาย ≥ 1.3: 100 ผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ.A, S) Transplant SPสาขา ปลูกถ่าย อวัยวะ ปี 2560 สถิติจำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายจัดอยู่ในลำดับที่ 1 ของภาคเหนือ และลำดับที่ 6 ของประเทศ ผู้ป่วยสมองตาย จำนวน 388 ราย ไม่สามารถเจรจาขอรับบริจาคอวัยวะได้ 284 ราย (73.19%) เนื่องจากอันดับ 1) ผู้ป่วยไม่อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถบริจาคอวัยวะได้ 169 ราย (43.55%) 2) ผู้ป่วยเสียชีวิตกะทันหัน 89 ราย (22.93%) 3) ไม่ได้วินิจฉัยสมองตาย 7 ราย (1.8%) เจรจาขอรับบริจาคอวัยวะมี จำนวน 103 ราย (26.54%) แต่ไม่ได้รับบริจาคเนื่องจาก 1) ปฏิเสธการรักษาจำนวน 33 ราย (8.5%) 2) กลัวอวัยวะไม่ครบจำนวน 21 ราย (5.41%) 3) สภาพไม่เหมาะสมจำนวน 20 ราย (5.15%) สถาน การณ์ มาตรการดำเนินการที่สำคัญ : 1. แนวปฏิบัติ (SOP) เรื่องการคัดกรองและการดูแลผู้บริจาคอวัยวะสมองตาย/HOIR/AAR 2. มอบหมายตัวชี้วัดรายบุคคล (IRBM) 3.เยี่ยมกระตุ้น รพ.เครือข่าย ร่วมกับประชุม กก.เขตสุขภาพที่ 1 จำนวน 5 รพ.(ลำปาง นครพิงค์ แพร่ ลำพูน เชียงคำ) 1) การทบทวนอุบัติการณ์ Identify potential donor ไม่ถูกต้อง และไม่ปฏิบัติตาม SOP เรื่องการคัดกรองและการดูแลผู้บริจาคอวัยวะสมองตายจำนวน 8 ราย เพื่อให้แนวปฏิบัติเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งองค์กร (29 พ.ย.61) 2) ปรับคณะกรรมการศูนย์ฯ จ.เชียงราย มุ่งเน้นการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างแกนนำให้มากขึ้น 3) จัดอบรมพัฒนาระบบรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะในส่วนภูมิภาค ร่วมกับส่วนกลาง ที่ รพ.ลำปางวันที่ พ.ย.61 สิ่งที่ดำเนินการ

32 Transplant SPสาขา ปลูกถ่าย อวัยวะ
1.อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (เป้าหมาย ≥ 0.8 : 100 ผู้ป่วยเสียขีวิตใน รพ.A, S) 2.อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคดวงตา ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (เป้าหมาย ≥ 1.3: 100 ผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ.A, S) Transplant SPสาขา ปลูกถ่าย อวัยวะ ผลงาน (รอบ1) : ข้อมูล ต.ค. – ธ.ค. 61 ปีงบประมาณ 2562 (ต.ค.-พ.ย.61) ร้อยละผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ร้อยละผู้ยินยอมบริจาคดวงตาต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล Hospital death 357 ราย 1.4 (utilized donor = 1.12/4 ราย) 0.84 (3 ราย) ข้อเสนอแนะ : 1) สนับสนุนให้มีโครงสร้าง อัตรากำลัง และความก้าวหน้าในวิชาชีพอย่างชัดเจน 2) ติดตามการทำงานของทุกระดับให้สอดคล้องกัน และสนับสนุนให้มีการพัฒนาขยายไปในทุกภาคส่วน นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่าง (ถ้ามี) : 4Ds in Organ donation & Transplantation in Lanna Detect & Selection donor Detection trigger flow chart Protocol (Standing order + criteria) Daily target wards round / Staff Declare brain death HOIR; hospital occurrence incident report Declare brain death order sheet Training nurse, Knowledge wards for declaration, Under graduate (doctor) Donor management Early resuscitate & Donor care Consultants On call TCN Development system RCA/Risk register/Brain death audit Foundation/Provider board/strategic plan Social media/Teleconference Kidney & Corneal transplant/Regional harvesting team

33 สาขา แพทย์แผนไทย เป้าหมาย ปี 2562
ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18.5 สาขา แพทย์แผนไทย ข้อมูลสถานบริการที่เปิดให้บริการการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก จังหวัดเชียงราย ลำดับ สถานบริการ จำนวน แห่ง ร้อยละ 1. รพ.เชียงรายฯ 1 100.00 2. รพ.ชุมชน 17 100 3. รพ.สต. 155 72.43 4. สถานบริการที่เข้าร่วม โครงการดูแลหญิงหลังคลอด 77 33.19 เป้าหมาย ปี 2562 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรคและฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 20 มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 มีงานวิจัยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่นำมาใช้ทางการแพทย์/ ทางการตลาด อย่างน้อย 10 เรื่อง การให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HA มีการใช้ยาสมุนไพร First line drug.และยาสมุนไพรทดแทน ทุกสถานบริการ การผลิตยาสมุนไพรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

34 ที่มา : HDC 25 ธ.ค. 61 ปัญหา/ เสนอแนะ ผลการ ดำเนินงาน
ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18.5 ผลการ ดำเนินงาน ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม ธันวาคม 2561) ร้อยละ 17.05 1.การเข้าถึงการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของประชาชน 2. ปัญหาการจ้างแพทย์แผนไทยที่ติดกรอบ FTE ปัญหา/ เสนอแนะ ที่มา : HDC 25 ธ.ค. 61

35 สถิติการตรวจสวนหัวใจ ปีงบประมาณ 2561
อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 26/แสน ปชก. สาขา โรคหัวใจ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย ข้อมูลผู้ป่วย STEMI ปี 2561 ผลดำเนินการ ตค.60-กย.61 1. ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการรักษาโดยการเปิดเส้นเลือดด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด หรือ Primary PCI >75% 100% 2. ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่เสียชีวิต ภายใน รพ.ภายหลังได้รับการรักษา < 10 % 8.21 % สถาน การณ์ STEMI SK PPCI DTB time 353 ราย 235 ราย 69 ราย 89 นาที สถิติ ACS รพศ.ชร ปี2561 STEMI Dead 353 ราย 29 อัตราการตาย ACS 6.67:แสนประชากร สถิติการตรวจสวนหัวใจ ปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2559 2560 2561 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดและหรือ PPCI ≥ 75% 96.0 73.64 100 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่เสียชีวิตภายในโรงพยาบาล หลังได้รับการรักษา < 10 % 8.3 21.25 8.21

36 STEMI สาขา โรคหัวใจ ปัญหา/ เสนอแนะ จุดเด่น
มีระบบเครือข่าย การปรึกษา ส่งต่อ สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ทุก รพ.เครือข่ายในจังหวัดเชียงรายครบ 100% ประเด็นพัฒนา Door to balloon time ในผู้ป่วย PPCI = 89 นาที ( เป้าหมาย < 60 นาที ) Door to neddle time ใน รพ. = 39 นาที ( เป้าหมาย < 30 นาที ) ปัญหาและอุปสรรค ห้องตรวจสวนหัวใจมี 1 ห้องปฏิบัติการ 1 ทีมพยาบาล ปฏิบัติหน้าที่เวรเช้า และ On call 24 ชม.รองรับผู้ป่วยฉุกเฉิน ขาดการ Awareness Emergency ใน รพ. แผนพัฒนาปี 2562 เพิ่มอัตราการทำ PPCI ; เพิ่มทีมพยาบาลอีก1ทีม รองรับการให้บริการ เวร เช้า-บ่าย และให้บริการฉุกเฉินตลอด 24 ชม. จัดตั้ง ACS ทีมประจำหอผู้ป่วย พัฒนา check list standard management ACS ภายใน รพ. พัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อ Door in to Door out time ของ รพช.ภายใน 45 นาที > 30% พัฒนาระบบการทำ ACLS ระหว่าง Refer ; มีระบบการ Audit CPR เชิงระบบ ใน รพศ.และ รพช. ปัญหา/ เสนอแนะ

37 สาขา โรคหัวใจ N Dead % 52 ราย 8.58 %
NSTEMI 2561 สาขา โรคหัวใจ N Dead % 606 ราย/ปี 52 ราย 8.58 % ประเด็นพัฒนา 60% ของ ACS เป็นผู้ป่วย NSTEMI ปัญหาและอุปสรรค ไม่มี Data system ,การจำแนกความรุนแรง ความเร่งด่วนในการรักษา NSTEMI ระยะเวลาการรอคอยตรวจสวนหัวใจ ประมาณ 40 วัน แผนพัฒนาปี 2562 ผู้ป่วย NSTEMI ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม จัดตั้ง ACS ทีมประจำหอผู้ป่วย ผู้ป่วย NSTEMI ทุกราย ต้องได้รับการประเมินความรุนแรงและความเร่งด่วนในการตรวจรักษา ใช้แบบคัดกรอง NSTE-ACS screen พัฒนา check list standard management NSTEMI-ACS ภายใน รพ. และถ่ายทอดสู่ รพช.ให้สามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องได้ โดยเฉพาะกลุ่ม Low risk ให้สามารถนัดคิว Non-Invasive แบบ OPD case เพื่อลดความแออัดใน รพศ. ผู้ป่วย NSTEMI กลุ่ม High Risk และ Very High Risk ได้รับการทำ CAG in admit > 70 % ( ปี 2561 = % ) ผู้ป่วย NSTEMI ที่ไม่ได้ CAG in admit ได้รับการประเมิน Non-Invasive ภายใน 1 เดือน > 60% ระยะเวลาการรอคอยตรวจสวนหัวใจ < 30 วัน (ปี 2560/180 วัน , 2561/40วัน )

38 Open Heart Surgery สาขา โรคหัวใจ

39 Open Heart Surgery (ต.ค.60-ก.ย.61)
สาขา โรคหัวใจ จุดเด่น Multidisciplinary Team มีการวางแผนร่วมกันกับ สหสาขาก่อนการผ่าตัด ประเด็นพัฒนา เมื่อมีเคส Emergency จะส่งผลกระทบกับเคสที่อยู่ในคิวปกติ เนื่องจากมีบุคลากร และเครื่องมือจำกัด สำหรับห้องผ่าตัดเปิดหัวใจเพียง 1 ห้อง ปัญหาและอุปสรรค วันผ่าตัดหัวใจแบบเปิด จำกัด 3 วัน/สัปดาห์ ห้องผ่าตัดมีเพียง 1 ห้อง /ถูกจำกัดด้วยเครื่องมือ และบุคลากร แผนพัฒนาปี 2562 ขยายการผ่าตัด เพื่อรองรับเคสที่ต้องผ่าตัดเร่งด่วน โดยไม่ส่งผลกระทบกับ เคสผ่าตัดที่อยู่ในคิวปกติ เพิ่มห้องผ่าตัดหัวใจแบบเปิด อีก 1ห้อง เพิ่มวันผ่าตัด เป็น 4วัน /สัปดาห์ จัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติมเพื่อรองรับการขยายห้องผ่าตัด จัดหาบุคลากรทีมผ่าตัด และทีม ICU เพื่อรองรับการผ่าตัดที่เพิ่มขึ้น พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการทำหัตถการ Complex case ปัญหา/ เสนอแนะ

40 ข้อเสนอแนะ สาขา โรคหัวใจ
1. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย ACS ระบบพี่เลี้ยงในการทำ case ที่มีความยุ่งยากซับซ้อน จัดสรรทรัพยากรที่ทันสมัยและมีความเพียงพอ พร้อมต่อการใช้งาน ขยายจำนวนห้องทำหัตถการและจัดสรรทีมบุคลากรเพิ่มให้สอดคล้องกัน ขยายการใช้แบบคัดกรองความรุนแรงของ NSTEMI /UA ลงสู่ รพช.เพื่อคัดกรองกลุ่ม Low Risk ให้รักษาได้ใน รพ.ชุมชน ลดการแออัดใน รพศ.รวมถึงสามารถขอคิวนัด Non-invasive แบบ OPD caseได้ 2. พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลในกลุ่ม NSTEMI / UA 3. สนับสนุนงบประมาณการ Audit CPR เชิงระบบในระดับจังหวัด

41 Stroke FAST TRACK สถาน การณ์
1. ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke : I60-I69) < ร้อยละ 7 2. ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic : I60-I62) < ร้อยละ 25 3. ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/ อุดตัน (Ischemic : I63) < ร้อยละ 5 4. ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/ อุดตันระยะเฉียบพลัน (I63) ที่มีอาการ ไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง ได้รับการรักษาด้วยยา ละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 60 นาที (door to needle time) ≥ ร้อยละ 50 5. ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit≥ ร้อยละ 40 6. ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) ได้รับการผ่าตัดสมอง ภายใน 90 นาที (door to operation room time) ≥ ร้อยละ 60 Stroke FAST TRACK สถาน การณ์

42 จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

43 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) < ร้อยละ 7
Door to needle time ภายใน 60 นาที (> ร้อยละ 50)

44 Analysis from small group of data
Summary Stroke Surgical case 2 months Total 46 cases : Death 5 cases (10.8%) Fast tract criteria Intracranial hemorrhage need surgery with GCS : M < 5 Exclude GCS : M = 1 Consent to operate by family members at ER Analysis from small group of data Stroke surgical fast track is beneficial Surgical fast track reduce mortality rate in low GCS group Fast tract criteria must be reasonable - Benefit in some group of patients Deterioration of GCS correlate with high mortality rate

45 นวัตกรรม Stroke FAST TRACK มาตรการ ที่สำคัญ ดำเนินงาน ปัญหา/ เสนอแนะ
1.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงและการจัดการกับกลุ่มเสี่ยงโดยประสานความร่วมมือกับหน่วยปฐมภูมิ รพช. 2.Stroke unit จำนวน 8 เตียง 3.พัฒนาบุคลากร 4.Post stroke care: WCU ,โทรศัพท์ติดตาม 5.Intermediate care : Stroke man the key success of stroke intermediate care 6.Hemorrhagic stroke fast tract มาตรการ ที่สำคัญ FAST TRACK 1.ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke : I60-I69)= ร้อยละ 6.75 2.ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic : I60-I62) = ร้อยละ 19.05 3.ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/ อุดตัน (Ischemic : I63) = ร้อยละ 2.10 4.Door to needle time ภายใน 60 นาที = ร้อยละ 75  5.ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit= ร้อยละ  6.door to operation room time ภายใน 90 นาที = ร้อยละ 14.63 นวัตกรรม ต.ค.-ธ.ค.61 ดำเนินงาน 1.Program stroke man 2.Hemorrhagic stroke fast tract 3. Clinical path way Stroke in hospital ปัญหา/ เสนอแนะ ตัวชี้วัด Door to operation room ควรจะมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เพื่อสามารถจัดเก็บข้อมูลและนำข้อมูลมาวิเคราะห์ได้ตรงประเด็น จำนวนเตียง (stroke unit ) มีไม่เพียงพอกับจำนวนคนไข้ที่เพิ่มมากขึ้น

46 Acute stroke @ รพ.เชียงราย
Subacute stroke 2-3 วัน 7-20 วัน Intermediate care เชื่อมข้อมูลผู้ป่วยด้วย?? Stroke man Home care

47 ข้อมูลการวินิจฉัยโรค
1 - ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - ภาวะแทรกซ้อนระหว่างนอน โรงพยาบาล 2 REFERRAL FORM 3 - ความพิการที่หลงเหลือก่อนส่งต่อ - ยาที่ต้องการให้ส่งต่อ 4 แผนการรักษาต่อเนื่องที่ intermediate care unit

48 Electronic doctor order sheet
VDO Strokeman : สารคดีข่าว สธ.

49 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google