งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
การดำเนินงานตรวจสุขภาพ และ ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว

2 ภารกิจในการดำเนินงานการดูแลสุขภาพ
การตรวจสุขภาพประจำปี บริการด้านรักษาพยาบาล บริการสร้างเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค การเฝ้าระวังโรค

3 ประเด็นการเปลี่ยนแปลง
รายการ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ ปรับ เป็น 2 ฉบับ - ประกาศมาตรการแนวทางการดำเนินงานตรวจ สุขภาพและประกันสุขภาพ คนต่างด้าว สุขภาพและประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว สิทธิประโยชน์ ยกเลิกการคุ้มครอง กรณี การดูแลทารกแรกเกิด ตั้งแต่วันคลอด จน ถึง 28 วัน ปรับเป็น ให้ เด็ก ซื้อประกันสุขภาพ ราคา 365 บาท ตั้งแต่แรกคลอด การร่วมจ่าย ยกเลิกการร่วมจ่าย 30 บาท

4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องการตรวจสุขภาพ และการประกันสุขภาพ ต่างด้าว ประจำปี 2558 ลง วันที่ 30 มีนาคม 2558 ฉบับคนต่างด้าว ต่างด้าวถูกปลดสิทธิ UC ผู้ที่ยังไม่ได้รับสิทธิ บุคลลที่มีปัญหาฯ ฉบับแรงงานต่างด้าว แรงงาน 3 สัญชาติ ได้แก่ เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา (1)แรงงาน/ผู้ติดตาม อายุคุ้มครอง 1 ปี 2100 (2) แรงงาน/ผู้ติดตาม อายุคุ้มครอง 6 เดือน 1400 (3) แรงงาน/ผู้ติดตาม และ กลุ่มรอเข้า ปกส. อายุคุ้มครอง 3 เดือน 1000 (1) คนต่างด้าวกลุ่มที่อายุ 15 ปีขึ้นไป 2700 ตรวจสุขภาพ 500 ประกัน 2200 ประกัน 1600 ประกัน 900 ประกัน 500 อายุคุ้มครอง 1 ปี ตรวจสุขภาพ 500 (2) เด็กอายุไม่เกิน 7 ปีบริบูรณ์ 365 ไม่มีค่าตรวจสุขภาพ (4) เด็กอายุไม่เกิน 7 ปีบริบูรณ์ 365 อายุคุ้มครอง 1 ปี ประกัน 365

5 หลักฐาน และรายการ ประกอบการขายประกันสุขภาพ
ค่าตรวจสุขภาพ และ ประกันสุขภาพตามที่ กสธ .กำหนด เอกสาร กรณีขายประกันกลุ่มรอเข้า ปกส. เพิ่ม สำเนาแบบฟอร์มทะเบียนผู้ประกันตน ที่ สนง .ประกันสังคม ออกให้ ลงนามโดย พนักงาน จนท . ตาม พรบ ปกส.พ.ศ.2533 และ พรบ .เงินทดแทน พ.ศ แทน แบบฟอร์ม สปส.1-03 -หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ -หนังสือเดินทางชั่วคราว หรือ -เอกสารที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขประจำตัว 13 หลัก

6 แนวทางการตรวจสุขภาพแรงงานและผู้ติดตาม
ผู้ใหญ่ เด็ก *เอ็กซเรย์ ปอด *เก็บปัสสาวะตรวจหาสารแอมเฟตามิน *การตรวจภาวะโรคเรื้อน * ตรวจเลือดหาเชื้อซิฟิลิส เชื้อพยาธิโรคเท้าช้าง *ให้กินยา DEC (300 มิลิกรัม ) ก่อนเจาะเลือดหาพยาธิโรคเท้าช้าง *ให้ทานยาอัลเบนดาโซน 400 มิลิกรัม ทุกราย เพื่อควบคุมโรคพยาธิลำไส้ หรือ ตามดุลพินิจของแพทย์ *การตรวจร่างกายอื่นๆ ตามดุลพินิจของแพทย์ เด็กแรกเกิด – 15 ปี * ตรวจพัฒนาการตามวัย *ตรวจสุขภาพช่องปาก เด็กอายุ 7– 15 ปีคลอดในประเทศไทย *รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ *ตรวจสุขภาพที่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ อื่นๆตามที่แพทย์เห็นสมควร

7 ผลการตรวจสุขภาพ ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3 ประเภทที่ 1
ผู้ที่มีผลการตรวจสุขภาพปกติ ประเภทที่ 2 ผู้ที่ผ่านการตรวจสุขภาพ แต่มีภาวะติดเชื้อ หรือ การเจ็บป่วยด้วยโรคที่จะต้องควบคุม ประเภทที่ 3 ผู้ที่ไม่ผ่านการตรวจสุขภาพ สุขภาพไม่แข็งแรงเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน วัณโรค โรคพยาธิลำไส้ โรคต้องห้ามทำงาน/ไม่อนุญาตอยู่ไทย โรคเรื้อน -วัณโรคระยะติดต่อ -โรคเรื้อนระยะปรากฏอาการ -โรคเท้าช้างระยะปรากฏอาการ -โรคซิฟิลิสในระยะที่ 3 -ติดสารเสพติดให้โทษ -พิษสุราเรื้อรัง -โรคจิต/ปัญญาอ่อน โรคเท้าช้าง ให้ทำการรักษาต่อเนื่อง ซิฟิลิส

8 นับตั้งแต่วันตรวจสุขภาพ
กรณีการขึ้นทะเบียนแรงงาน มีอายุ 60 วัน นับตั้งแต่วันตรวจสุขภาพ ใช้แบบฟอร์ที่ กสธ.กำหนด นัดวันมารับผลการตรวจ ภายใน 3 วัน นับถัดจากวันที่ตรวจ ใบรับรองแพทย์ กรณีการประกันสุขภาพ มีอายุ 1 ปี หมายเหตุ 1.กรณีมาต่ออายุการประกันฯและได้รับการตรวจสุขภาพจากหน่วยบริการตามมาตรการ กสธ .มาแล้วผล การตรวจยังไม่เกิน 1 ปี ไม่ต้องตรวจใหม่ 2. กลุ่มรอเข้าประกันสังคม ที่ผ่านการขึ้นทะเบียนแรงงานแล้วผล การตรวจยังไม่เกิน 1 ปี ไม่ต้องตรวจใหม่ 3. กลุ่มย้ายจังหวัดใบรับรองแพทย์ยังไม่หมดอายุ ไม่ต้องตรวจใหม่

9 พื้นที่ดำเนินการตรวจสุขภาพ และขายประกันสุขภาพ
ให้แรงงานต่างด้าวตรวจสุขภาพและซื้อประกันสุขภาพที่หน่วยบริการประจำอำเภอ ที่อยู่ในพื้นที่ตามที่อยู่ของนายจ้าง หรือ ตามที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่ ตามโควตาที่นายจ้างขอไว้กับจัดหางาน สำหรับแรงงานที่อาศัยอยู่ในอำเภอเมือง สามารถ ตรวจ และซื้อประกันฯ ได้ที่ รพ.นครพิงค์ รพ.สันทราย รพ.สารภี และรพ.หางดง

10 รูปแบบของบัตร บัตรที่ออกโดย มหาดไทย ณ.ศูนย์ One Stop Service
บัตรที่เป็นไปตามกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ลักษณะบัตร ด้านหน้ามีสีชมพูเหมือนกัน แต่ด้านหลัง -สีเขียว สัญชาติเมียนมาร์ -สีน้ำตาล สัญชาติ กัมพูชา -สีฟ้า สัญชาติ ลาว

11 หลักเกณฑ์การเข้ารับบริการ
ภายในจังหวัดเชียงใหม่ นอกจังหวัดเชียงใหม่ กรณีบัตรระบุเป็น โรงพยาบาลชุมชน กรณีบัตรระบุเป็น รพ.นครพิงค์. ใช้สิทธิได้เฉพาะกรณีอุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน โดย ผู้ประกันสุขภาพต้องมี พาสปอร์ต หรือใบโควต้าที่ระบุสถานที่ทำงานในพื้นที่นั้นๆ *ใช้บริการ ณ. รพ.ที่ระบุในบัตร * หากจำเป็น สามารถใช้บริการ ณ. รพช ทุกแห่งโดยไม่ต้องมีใบส่งตัว *กรณีใช้บริการ รพ.นครพิงค์ สามารถใช้บริการได้ ดังนี้ 1.รพ.นครพิงค์เป็น รพ.ที่ระบุในบัตร 2.มีใบส่งตัวจาก รพที่รักษา *ใช้บริการที่ รพ.นครพิงค์ * หากจำเป็น สามารถใช้บริการ ณ. รพช ทุกแห่งโดยไม่ต้องมีใบส่งตัว

12 การดำเนินงานกรณีคนต่างด้าวย้ายที่อยู่ข้ามเขตจังหวัด
สถานที่ เอกสาร 1.บัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าว 2.ใบแจ้งย้ายที่อยู่ใหม่ของลูกจ้าง หลักฐานของนายจ้าง เช่น บัตรประชาชนสำเนาทะเบียนบ้าน 3.หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ หนังสือเดินทางชั่วคราว หรือ เอกสารที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขประจำตัว 13 หลัก คนต่างด้าวต้องแจ้งย้ายออก ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

13 บริการทางการแพทย์ที่ได้รับการคุ้มครอง
ชุดสิทธิประโยชน์ บริการทางการแพทย์ที่ได้รับการคุ้มครอง การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป *ตรวจวินิจฉัย บำบัดรักษา การคลอดบุตรการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์จนสิ้นสุดการรักษา ตลอดจนการแพทย์ทางเลือกที่ผ่านการรับรองของคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ *การถอนฟัน (รวมถึงการผ่าตัด หรือ ถอนฟันคุด การขูดหินปูน *บริการอาหารและห้องสามัญ *ยาและเวชภัณฑ์ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ การจัดส่งต่อเพื่อ การรักษาระหว่างหน่วยบริการ *การให้วัคซีนขั้นพื้นฐาน (ในเด็ก 0-15 ปี)

14 บริการทางการแพทย์ที่ได้รับการคุ้มครอง
ชุดสิทธิประโยชน์ บริการทางการแพทย์ที่ได้รับการคุ้มครอง การตรวจรักษากรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉินการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษา การควบคุมป้องกันโรค การเฝ้าระวังโรค การให้ยาต้านไวรัสเอสด์ (ARV) ตาม กสธ.กำหนด

15 ชุดสิทธิประโยชน์ บริการด้านส่งเสริม และป้องกันโรคที่ได้รับการคุ้มครอง
*การจัดให้มีและใช้สมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวในการดุแลสุขภาพแต่ละบุคคลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งบัตรสุขภาพเด็กและสิทธิประโยชน์สำหรับการดูแลตามกลุ่มวัย *การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ตลอดจนการให้บริการดูแลหลังคลอด *การตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง *การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ กรรีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากแม่สู่ลูก *วางแผนครอบครัว *การเยี่ยมบ้าน (Home Visit) และการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน (Home Health Care ) *การให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้รับบริการในระดับบุคคลและครอบครัว ผ่านสื่อบุคคล (อสต) และสื่อสิ่งพิมพ์ ฯลฯ *การให้คำปรึกษา (Counseling) สนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ *การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันในช่องปาก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก แนะนำด้านทันตกรรม การให้ฟูลออไรด์เสริม ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคฟันผุ *การควบคุมโรค

16 ชุดสิทธิประโยชน์ ที่ไม่คุ้มครอง
*โรคจิต *การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยา และสารเสพติด *ผู้ประสบภัยจากรถที่สามารถใช้ พรบ *การรักษาภาวะมีบุตรยาก *การผสมเทียม *การผ่าตัดแปลงเพศ *การกระทำใดๆเพื่อความสวยงาม โดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ *การตรวจ วินิจฉัย และรักษาใดๆที่เกินความจำเป็นและข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ *โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทผู้ป่วยในเกิน 180 วัน ยกเว้นหากมีความจำเป็นต้องรักษาต่อเนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อน หรือ ข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ *การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง *การรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยการล้างไต (Peritoneal Dialysis) และการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Haemodialysis) *การเปลี่ยนอวัยวะ (Organ Transplant) * การทำฟันปลอม

17 การตรวจสอบสิทธิคนต่างด้าว
ตรวจสอบสิทธิผ่านทางเว็บไซต์ Username: ใช้รหัสสถานบริการ Password: fwfตามด้วยรหัสสถานบริการ

18 คำถาม

19 จบการนำเสนอ...........สวัสดีค่ะ
ติดต่อสอบถามได้ที่ กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ต่อ 109 ( ถนอมศรี แจ่มไทย ผู้รับผิดชอบงานต่างด้าว)


ดาวน์โหลด ppt ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google