งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น

2 คนต่างด้าว บุคคลซึ่งพำนักอยู่ในรัฐ ที่ตนมิได้เป็นคนสัญชาตินั้น หรือเป็นพลเมืองของรัฐนั้น ตาม พรบ.สัญชาติ พ.ศ.2508 มาตรา 4 บัญญัติว่า “คนต่างด้าว หมายถึง ผู้ซึ่งมิได้มีสัญชาติไทย”

3 หลักการการจัดระบบบริการ
ความครอบคลุม (Coverage) การเข้าถึงบริการ (Accessibility) การมีส่วนร่วม (Participation) เป้าหมาย เพื่อให้บริการทางด้านสาธารณสุขแก่แรงงานต่างด้าว และผู้ติดตามได้อย่างมีคุณภาพและครอบคลุมทั้งด้าน การรักษา ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพ

4 การบริหารจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว
ระดับจังหวัด 1.ประสานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการร่วมกัน 2.จัดตั้งกองทุนประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวระดับจังหวัดเพื่อประสานงานและบริหารจัดการงบประมาณด้านต่างๆ เช่น กรณีค่าใช้จ่ายสูงและการส่งต่อผู้ป่วย รวมถึงพัฒนาด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 3.กำหนดแนวทางการดำเนินงานการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวและผู้ติดตาม แจ้งเวียนให้หน่วยงานในสังกัดทราบและปฏิบัติ 4.จัดให้มีบริการตรวจสุขภาพแก่แรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน และมีการติดตามรายงานผลการตรวจสุขภาพ 5.ประชาสัมพันธ์การจำหน่ายบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว

5 ระดับอำเภอ 1.โรงพยาบาลชุมชน ดำเนินการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพคนต่างด้าว ในพื้นที่รับผิดชอบตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยยกเว้นการเก็บค่าบริการตรวจพัฒนาการตามวัยในบุตรคนต่างด้าวอายุไม่เกิน 7 ปี บริบูรณ์ 2.ตรวจสุขภาพและออกใบรับรองแพทย์ มีอายุ 60 วัน นับตั้งแต่วันที่ตรวจสุขภาพ 3.จำหน่ายบัตรประกันสุขภาพ ที่มีอายุคุ้มครอง 1 ปี /6เดือน/3 เดือน ตามความสมัครใจของผู้ประกันตน 4.โรงพยาบาลส่งข้อมูลขึ้นทะเบียนบัตรประกันสุขภาพเข้าระบบโปรแกรมฯ และโอนเงินในส่วนค่าบริหารจัดการและค่าใช้จ่ายสูงเข้ากองทุนประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จ.ขอนแก่น โดยให้กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น เป็นผู้บริหารจัดการกองทุนฯ และโอนในส่วนค่าใช้จ่ายสูงให้กองทุนกลาง กระทรวงสาธารณสุขต่อไป 5.จัดทำแผนงานและดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ควบคุม ป้องกันโรค แรงงานต่างด้าว ในพื้นที่รับผิดชอบ

6 โรงพยาบาลใกล้บ้าน หรือ โรงพยาบาลใกล้ที่ทำงานทุกแห่ง
การตรวจสุขภาพ และประกันสุขภาพคนต่างด้าว โรงพยาบาลใกล้บ้าน หรือ โรงพยาบาลใกล้ที่ทำงานทุกแห่ง (ที่เข้าร่วมโครงการ)

7 ขั้นตอนการขอตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ณ ศูนย์ตรวจสุขภาพ
ผู้ป่วย walk in เวชระเบียน ขั้นตอนการขอตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ณ ศูนย์ตรวจสุขภาพ ศูนย์ตรวจสุขภาพ ตรวจสอบเอกสาร/แยกสัญชาติ ซักประวัติ/คัดกรองโรค ขั้นตอนการตรวจ เก็บปัสสาวะเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ รับประทานยาฆ่าพยาธิ (ทุกราย) รับประทานยารักษาพยาธิโรคเท้าช้าง (พม่า) เจาะเลือด X-ray ทรวงอก ตรวจสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ติดตามผลการตรวจ/การรักษา ผู้ป่วยผิดปกติ /โรคติดต่อ เวชกรรมสังคม ส่งรายงานโรคติดต่อ ติดตามการรักษา/ประเมินผล OPD/IPD รับการรักษาตามระบบบริการ ทำประกันสุขภาพ ออกใบรับรองแพทย์

8 การลงทะเบียนและจำหน่ายบัตร สำหรับคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง ตั้งแต่ระดับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์ สามารถดำเนินการตรวจสุขภาพและจำหน่ายบัตรประกันสุขภาพได้ทุกวันในเวลาราชการ ในการรับบริการสามารถใช้บริการในโรงพยาบาลที่ลงทะเบียนและเครือข่าย รพ.สต.ของหน่วยบริการนั้นๆ โดยตรวจสอบข้อมูลผู้ประกันตนจากฐานข้อมูลและตัวบัตรฯ

9 หลักฐานในการลงทะเบียน
-หนังสือเดินทาง (passport) หรือหนังสือเดินทางชั่วคราว หรือเอกสารที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขประจำตัว 13 หลัก เช่น ทร.38/1 ***กรณีไม่มีหลักฐานการพิสูจน์สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) หลัง 31 มี.ค 58** ไม่รับขึ้นทะเบียนประกันสุขภาพเพิ่ม จนกว่าจะมีคำสั่งจาก คสช.และผ่านการพิสูจน์สัญชาติแล้ว

10 เวปไซด์กองทุนผู้ประกันตนคนต่างด้าว fwf.cfo.in.th

11 ราคาบัตร สำหรับ คนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
ราคาบัตร สำหรับ คนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว กลุ่มเป้าหมาย อัตราค่าบริการ (บาท) ค่าใช้จ่าย เมื่อมารับบริการ ตรวจสุขภาพ ประกันสุขภาพ รวม คนต่างด้าว นอกเหนือจาก 3 สัญชาติและไม่ใช่ฝรั่ง 600 2,200 2,800 คุ้มครองตามสิทธิ (1 ปี) แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ(ลาว เขมร พม่า) 500 1,600 2,100 เด็ก อายุตั้งแต่ 0-7 ปีบริบูรณ์ - 365 คุ้มครองตามสิทธิ (1 ปี) แรงงานต่างด้าว ประกันตน 6 เดือน 900 1,400 (6 เดือน) แรงงานที่รอเข้าระบบประกันสังคม (3 เดือน) 550 1,150 คุ้มครองตามสิทธิ(3 เดือน)

12 รวมที่ รพ.ต้องโอนให้ สสจ.
อัตราประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว ปีงบประมาณ (เริ่มใช้ 13 สิงหาคม 2556) No. กลุ่ม ระยะ เวลาประกัน ค่าตรวจสุขภาพ ค่าประกัน แบ่งเป็น โอนต่อให้กลุ่มประกัน รวมที่ รพ.ต้องโอนให้ สสจ. ตามจ่าย ค่าบริหารจัดการ ค่าบริการทางการแพทย์/ส่งเสริมป้องกัน HC ARV สสจ.โอนให้ สป. 1 กลุ่มประกันประกันสังคม 3 เดือน 600 550 30 280 12.5 2.5 225 240 270 2 กลุ่มคนต่างด้าวทั่วไป 1 ปี 2200 91 120 1120 50 10 900 960 1171 3 กลุ่มเด็กต่างด้าว อายุ< 7 ปี - 365 25.5 33.5 314.5 14 17 76 อัตราประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว ปีงบประมาณ (เริ่มใช้ 27 มิถุนายน 2557) 3 สัญชาติ แรงงานต่างด้าว 500 37 351 15 5 92 112 149 6 เดือน 46 66 632 27 9 166 202 314 1600 300 360 571

13 การบริหารกลุ่มแรงงานต่างด้าวที่ซื้อประกันสุขภาพในศูนย์ One Stop Service
1. สสจ.ได้โอนเงินค่าบริการทางการแพทย์ให้หน่วยบริการและส่งเงินกรณีค่าใช้จ่ายสูงให้กลุ่มประกัน สป. เรียบร้อยแล้ว 2. ในการให้บริการ ผู้ประกันตนจะถือบัตรสีชมพูพร้อมแนบใบเสร็จรับเงินไปใช้บริการที่หน่วยบริการตามที่ระบุด้านหลังบัตร ได้ทันที 3.หลัง 31 มีนาคม ให้พิมพ์บัตรประกันสุขภาพให้แรงงานต่างด้าวที่ยังไม่หมดอายุการประกันสุขภาพ โดยดูจากใบเสร็จรับเงินว่าซื้อประกันสุขภาพจากศูนย์ OSS ในช่วงเดือนใด เช่น แรงงานต่างด้าวซื้อประกันสุขภาพ เดือน ก.ย 57 บัตรประกันสุขภาพจะหมดอายุ ก.ย 58 หลัง 31 มี.ค 58 สามารถพิมพ์บัตรประกันสุขภาพให้ผู้ประกันตนได้

14 ตัวอย่างบัตรแรงงานต่างด้าว ที่ศูนย์ OSS ออกให้

15 ตัวอย่างบัตรคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าวที่ รพ.ออกให้
ตัวอย่างบัตรคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าวที่ รพ.ออกให้ ติดรูปผู้ประกันตน

16 การตรวจสุขภาพคนต่างด้าว
รายการที่ตรวจ เพศ ชาย หญิง 1. เอกซเรย์ปอด 2. เจาะโลหิตหาเชื้อซิฟิลิสและโรคเท้าช้าง 3. เก็บปัสสาวะหาสารแอมเฟตามีนทุกคน 4. เก็บปัสสาวะตรวจการตั้งครรภ์ 5. ตรวจสภาวะโรคเรื้อน 6. ตรวจร่างกายอื่นๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์ หมายเหตุ แรงงานต่างด้าวทุกคนรับประทานยาอัลเบนดาโซล 400 mg เพื่อควบคุมโรคพยาธิลำไส้ และแรงงานสัญชาติพม่าทุกคน รับประทานยาไดเอทธิลคาร์บามาซีน (DEC) 300 mg. 1 เม็ด เพื่อควบคุมโรคเท้าช้างก่อนเจาะเลือดครึ่งชั่วโมง

17 ผลการตรวจสุขภาพ การตรวจสุขภาพ จำแนกผลตรวจเป็น 3 ประเภท คือ
การตรวจสุขภาพ จำแนกผลตรวจเป็น 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ผู้ที่มีผลการตรวจสุขภาพปกติ ประเภทที่ 2 ผู้ที่ผ่านการตรวจสุขภาพ แต่มีภาวะติดเชื้อที่จะต้องควบคุมและรักษาต่อเนื่อง เช่น วัณโรค เท้าช้าง ซิฟิลิส โรคเรื้อน ฯลฯ ประเภทที่ 3 ผู้ที่ไม่ผ่านการตรวจสุขภาพ (ประทับตรา “ต้องส่งกลับ”)

18 โรคต้องห้ามมิให้ทำงาน
วัณโรคระยะติดต่อ โรคเรื้อนในระยะที่ปรากฎอาการเป็นที่ รังเกียจแก่สังคม โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฎอาการเป็น ที่รังเกียจแก่สังคม โรคซิฟิลิสในระยะที่ 3 การติดสารเสพติดให้โทษ พิษสุราเรื้อรัง โรคจิต จิตฟั่นเฟือน หรือปัญญาอ่อน

19 การเข้ารับบริการของผู้ประกันตน
กรณีเจ็บป่วยทั่วไป : รพ.ที่ทำบัตรประกันสุขภาพ กรณีส่งต่อ : รพ.ขอนแก่น หรือ รพ.ขนาดใหญ่ กรณีอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน : รพ.ที่ใกล้ที่เกิดเหตุ

20 การรับบริการด้านสาธารณสุข
แรงงานต่างด้าวที่ได้ขึ้นทะเบียนประกันสุขภาพแล้ว สิทธิด้านสาธารณสุขจะมีมิติ ของการรับบริการระบบเดียวกับสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC) แต่จะต้องเสียค่าบริการครั้งละ 30 บาท (ทั้งกรณีผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน) การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป การรักษาและบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายสูง - กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน และควบคุมโรค ที่ได้รับการคุ้มครอง

21 สิทธิประโยชน์ของบริการที่ได้รับ
สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป รวมถึงการเฝ้าระวังควบคุมโรค การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายสูง และ การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) 3) กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน 4) การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษาระหว่างสถานพยาบาล

22 5) การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ได้แก่
การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การคลอด ตลอดจนการให้บริการดูแลหลังคลอดและการดูแลทารกแรกเกิดจนถึง 28 วัน การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากแม่สู่ลูก การวางแผนครอบครัว ประกอบด้วย การทำหมัน ฉีดยาคุม ฝังยาคุม และการจ่ายยาคุมกำเนิด และการให้คำปรึกษาต่างๆ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็ก เช่น การให้วัคซีนขั้นพื้นฐาน

23 สิทธิประโยชน์ที่ไม่คุ้มครอง (ชำระเงินเอง)
โรคจิต การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติดตามกฏหมาย ผู้ประสบภัยจากรถที่สามารถใช้สิทธิตาม พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ การรักษาภาวะมีบุตรยาก การผสมเทียม (ทำกิฟ) การผ่าตัดแปลงเพศ การกระทำใดๆเพื่อความสวยงาม โดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ การตรวจ วินิจฉัย และรักษาใดๆที่เกินความจำเป็น โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทผู้ป่วยในเกิน 180 วัน

24 สิทธิประโยชน์ที่ไม่คุ้มครอง (ชำระเงินเอง)
สิทธิประโยชน์ที่ไม่คุ้มครอง (ชำระเงินเอง) การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง การรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยการล้างไต (Peritoneal Dialysis) และการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Haemodialysis) การเปลี่ยนอวัยวะ (Organ Transplant) การทำฟันปลอม

25 กรณีส่งต่อ/อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน
กรณีส่งต่อ/อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน -กรณีส่งต่อและอุบัติเหตุฉุกเฉินภายในจังหวัดขอนแก่น ให้ส่งต่อตามขั้นตอน และแนวทางของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC) (กรณีอุบัติเหตุจากรถให้ใช้สิทธิ์ พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถก่อน) กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินนอกจังหวัดขอนแก่น ผู้ป่วยต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง กรณีส่งต่อไปรักษานอกเขตจังหวัดขอนแก่น สถานบริการต้องทำหนังสือขออนุญาตพร้อมรูปถ่ายแรงงานต่างด้าว ไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดทุกครั้ง

26 สิทธิประโยชน์ในการให้บริการยาต้านไวรัส (ARV)
ผู้ประกันตนที่เป็นผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่รักษาด้วยยาต้านไวรัส สามารถเบิกเคลม ARV และ Lab ได้จากกองทุนกลางของกลุ่มประกันสุขภาพ สป. โดยสามารถ Download คู่มือขั้นตอนการลงทะเบียนจากหน้าเวป fwf.cfo.in.th ในการกำหนดคุณสมบัติผู้รับยาและการรักษาเป็นหน้าที่ของผู้รับผิดชอบงานเอดส์ โดยประสานเรื่องการเบิกค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับงานประกันสุขภาพของหน่วยบริการทุกแห่ง ในการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ที่ซื้อบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จะต้องต่ออายุบัตรประกันสุขภาพทุกปี เพื่อป้องกันการดื้อยาต้านไวรัสและเพื่อการรักษาที่ต่อเนื่อง ดังนั้นก่อนขายประกันสุขภาพต้องผ่านการประเมินความพร้อมในการรักษาด้วยยาต้านไวรัสยกเว้นผู้ป่วยกลุ่มNAPHA EXTENSION ที่มีการรักษาอย่างต่อเนื่องแล้วสามารถขายบัตรประกันสุขภาพได้เลย

27 การบริหารจัดการยาต้านไวรัส (ARV)
ให้หน่วยบริการทุกแห่ง จัดซื้อยาต้านไวรัส เพื่อสำรองให้ผู้ป่วยเอดส์หรือสำรองเงินในการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ จากนั้นประสานกับงานประกันสุขภาพในการเบิกเคลมผ่านเวปไซด์กองทุนผู้ประกันตนคนต่างด้าว fwf.cfo.in.th โดยกลุ่มงานประกันสุขภาพ สป. จะตรวจเคลมและส่งเงินคืนให้หน่วยบริการตามจำนวน โดยโอนเข้าบัญชีหน่วยบริการ

28 ผลการดำเนินงาน

29 1. การขึ้นทะเบียน/การมีหลักประกันสุขภาพ

30 จำนวนแรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน รวม OSS ปีงบประมาณ 57(ต.ค-ก.ย 57)
ลำดับ รหัสหน่วยบริการ หน่วยบริการ งวด2200 งวด 3 เดือน(550 บาท) งวด เด็ก<7ปี งวด 1600 งวด 6 เดือน(900บาท) งวด 3 เดือน(500บาท) รวมทุกงวด จำนวน(คน) 1 10670 รพศ.ขอนแก่น 302 26 93 1321 6 9 1757 2 10995 รพช.บ้านฝาง 7 3 35 45 10996 รพช.พระยืน 4 36 46 10997 รพช.หนองเรือ 14 19 37 5 10998 รพช.ชุมแพ 48 87 10999 รพช.สีชมพู 24 11 11000 รพช.น้ำพอง 17 58 75 8 11001 รพช.อุบลรัตน์ 29 11002 รพช.บ้านไผ่ 20 78 99 10 11003 รพช.เปือยน้อย 11004 รพช.พล 12 11005 รพช.แวงใหญ่ 13 11006 รพช.แวงน้อย 11007 รพช.หนองสองห้อง 15 11008 รพช.ภูเวียง 18 27 16 11009 รพช.มัญจาคีรี 31 38 11010 รพช.ชนบท 11011 รพช.เขาสวนกวาง 11012 รพช.ภูผาม่าน 11445 รพร.กระนวน 76 98 21 14132 รพช.ซำสูง 22 12275 รพ.สิรินธรฯ 44 28 73 รวม 541 121 1835 2539 ข้อมูล ณ 30 ก.ย 57

31 จำนวนแรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน รวม OSS ปีงบประมาณ58(ต.ค-ธ.ค 57)
ลำดับ รหัสหน่วยบริการ หน่วยบริการ งวด2200 งวด 3 เดือน (550 บาท) งวด เด็ก<7ปี งวด 1600 งวด 6 เดือน(900บาท) งวด 3 เดือน(500บาท) รวม จำนวน(คน) 1 10670 รพศ.ขอนแก่น 4 7 26 299 48 384 2 10995 รพช.บ้านฝาง 3 14 18 10996 รพช.พระยืน 10997 รพช.หนองเรือ 6 5 10998 รพช.ชุมแพ 28 31 10999 รพช.สีชมพู 11000 รพช.น้ำพอง 9 11 8 11001 รพช.อุบลรัตน์ 11002 รพช.บ้านไผ่ 10 11003 รพช.เปือยน้อย 11004 รพช.พล 12 11005 รพช.แวงใหญ่ 13 11006 รพช.แวงน้อย 11007 รพช.หนองสองห้อง 15 11008 รพช.ภูเวียง 16 11009 รพช.มัญจาคีรี 17 11010 รพช.ชนบท 11011 รพช.เขาสวนกวาง 19 11012 รพช.ภูผาม่าน 20 11445 รพร.กระนวน 21 14132 รพช.ซำสูง 22 12275 รพ.สิรินธรฯ 35 435 538

32 2. ผลการตรวจสุขภาพ

33 ข้อมูลการตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว
ปีงบ ประมาณ ประเภท รวมทั้งหมด สัญชาติ ตั้งครรภ์ เมียนม่าร์ ลาว กัมพูชา สัญชาติอื่น 2557 จำนวนทั้งหมด(ไม่รวมเด็ก 123 คนที่ไม่ตรวจ) 2,921 743 1,446 666 66 พบปกติ (ประเภท1) 2,806 702 1,409 629 54 พบโรคที่ต้องติดตามรักษา(ประเภท 2) 114 41 36 37 - พบโรคที่ต้องห้ามมิให้ทำงาน (ประเภท3) 1 ***ผลการตรวจสุขภาพในระบบปกติและกลุ่ม OSS

34 จำแนกโรคที่ต้องรักษา (ประเภท 2)
ผลการตรวจสุขภาพ จำแนกโรคที่ต้องรักษา (ประเภท 2) ปีงบ ประมาณ ประเภทโรค รวมทั้งหมด สัญชาติ เมียนม่าร์ ลาว กัมพูชา ชาย หญิง 2557 วัณโรค(R/O) 102 25 9 28 6 27 7 โรคเท้าช้าง โรคเรื้อน โรคซิฟิลิส 11 - 2 โรคมาลาเรีย โรคพยาธิลำไส้

35 การจำแนกโรค ที่ห้ามมิให้ทำงาน (ประเภท 3)
การจำแนกโรค ที่ห้ามมิให้ทำงาน (ประเภท 3) จังหวัดขอนแก่น ตรวจพบโรค ที่ห้ามมิให้ ทำงาน (ประเภท 3) 3 ราย 1. วัณโรคระยะติดต่อ 2. โรคเรื้อนในระยะที่ปรากฏ อาการเป็นที่ รังเกียจแก่สังคม 3. โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่ รังเกียจแก่สังคม 4. โรคซิฟิลิสระยะที่ 3 5. การติดสารเสพติดให้โทษ 1 ราย เป็นผลตรวจยืนยันจากศูนย์วิทย์ฯ 6. โรคพิษสุราเรื้อรัง 7. โรคจิต จิตฟั่นเฟือน หรือปัญญาอ่อน 8. โรคอื่นๆ

36 การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา กรณีตรวจพบโรคที่ต้องมีการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา กรณีตรวจพบโรคที่ต้องมีการเฝ้าระวัง บูรณาการกับระบบเฝ้าระวังโรคปกติ ตามแบบ รายงาน 506 มีการเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่ จากทีม SRRT ระดับตำบล หมู่บ้าน ตามระบบปกติ

37 บูรณาการกับระบบเฝ้าระวังโรคปกติ ตามแบบรายงาน 506
บูรณาการกับระบบเฝ้าระวังโรคปกติ ตามแบบรายงาน 506 -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล -โรงพยาบาลชุมชน -โรงพยาบาลทั่วไป -โรงพยาบาลศูนย์ เข้ารับการรักษา แรงงานต่างด้าว มีอาการป่วย ศูนย์ระบาดวิทยา อำเภอ รวบรวม วิเคราะห์ แปรผล ตรวจจับการระบาดของโรค รายงานด้วยแบบ รง.506 โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ทีม SRRTดำเนินการสอบสวนโรค และควบคุมโรคไม่ให้แพร่กระจาย พบการระบาดของโรค

38 การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่จากทีม SRRT ระดับตำบล ระดับหมู่บ้าน
ตรวจพบ เหตุการณ์ทางด้านสุขภาพ ที่ผิดปกติของแรงงานต่างด้าว SRRT ระดับหมู่บ้าน ตำบล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย โรงงาน อสม. แรงงานต่างด้าว ได้รับแจ้งจาก แรงงานต่างด้าว แจ้ง กลุ่มอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก ไข้ออกผื่น ไข้และการรับรู้ตัวเปลี่ยนแปลง เช่น สับสน ชัก ซึม หมดสติ โรคติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน อาการป่วยคล้ายๆกันหลายรายหรือเสียชีวิตเฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ จนท.สธ. รพ.สต. ตรวจสอบ เป็นจริง แจ้งทีม SRRT อำเภอ ลงสอบสวนและควบคุมโรคไม่ให้แพร่กระจาย

39 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google