สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง (ร่าง) แผนปฏิบัติการโครงการนำร่อง พัฒนาระบบบริหารเวชภัณฑ์ เป็นเครือข่ายจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง

ต้นทุนเดิม........ของสกลนคร รพช. 17 แห่ง รพ.ทั่วไป 1 แห่ง มีการจัดซื้อยาตามนโยบาย “Good Health at Low Cost” ตลอดมา คณะกรรมการ PTC ระดับจังหวัด มีแพทย์เฉพาะทาง ทันตแพทย์ พยาบาล เป็นกรรมการและ เภสัชกร เลขานุการ มีการประชุม หารือ อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กรอบบัญชียาของจังหวัด เริ่มใช้ปี 2547โดย ใช้กรอบบัญชียาของโรงพยาบาลสกลนครเป็นกรอบใหญ่ ซึ่ง ยาของ รพช.จะต้องอยู่ในกรอบบัญชีนี้

รายการยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติ รพ. ทั่วไป(รพ รายการยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติ รพ. ทั่วไป(รพ.สกลนคร) (ตามเกณฑ์Good Health at Low Cost) Ratio ED = 82.27 %

รายการยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติ รพช รายการยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติ รพช.17 แห่ง (ตามเกณฑ์Good Health at Low Cost) Ratio ED = 89.58 %

กรอบการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ หลังดำเนินการ ดำเนินการ ก่อนดำเนินการ

ระยะก่อนการดำเนินงาน (1st stage) กิจกรรม ระยะเวลา ตัวชี้วัด ทบทวน(Review) PTC ของจังหวัด และ สถานบริการ กรอบบัญชียาจังหวัด และ สถานบริการทุกระดับ สิงหาคม 2550 PTC จังหวัดสกลนครและสถานบริการทุกระดับและมีการทำงานเป็นสหวิชาชีพ สถานบริการทุกแห่งมีรายการยาอยู่ในกรอบบัญชียาจังหวัดสกลนคร รพช.ทุกแห่งมียาEDไม่น้อยกว่า 90% ประเมินก่อน(Pre-test) สำรวจสถานการณ์คุณภาพระบบยา ของสถานบริการตามแบบฟอร์ม สถานบริการมีความพร้อมในการพัฒนาการบริหารเวชภัณฑ์เป็นเครือข่ายจังหวัด

ระยะก่อนการดำเนินงาน (1st stage) กิจกรรม ระยะเวลา ตัวชี้วัด 3.กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบบริหารเวชภัณฑ์เครือข่ายจังหวัดสกลนคร กันยายน 2550 มีการวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ไข กำหนดยุทธศาสตร์และกลวิธีในการดำเนินงาน 4.จัดทำโครงการเพื่อรับการสนับสนุนงบประมาณและวิทยากรจาก สปสช. อย. และกรมวิทย์ กันยายน 2550

ระยะดำเนินงาน (2ndstage) กิจกรรม ระยะเวลา ตัวชี้วัด 5.ประชุมสัมมนา -ชี้แจงความสำคัญและปรัชญาในการจัดทำบัญชียาED 2547 และ 2550 -กำหนดรูปแบบการบริหารเวชภัณฑ์ของจังหวัดสกลนคร - การจัดซื้อยาร่วม -การจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม -การจัดระบบการส่งต่อยา ตุลาคม 2550 มูลค่าการใช้ยาNED ลดลง จากปีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่า 5% มูลค่าการจัดซื้อร่วมไม่น้อยกว่า20% มูลค่าการจัดซื้อยาจากGPOไม่น้อยกว่า 40% สถานบริการมีการจัดซื้อยาจากGPO ด้วยวิธี VMI 100%

ระยะดำเนินงาน (2ndstage) กิจกรรม ระยะเวลา ตัวชี้วัด 6. ประชุมคณะกรรมการ PTC จังหวัด PTC สถานบริการ ตุลาคม 2550 – กันยายน 2551 มีการปรับปรุงกรอบบัญชียาจังหวัดสกลนครอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี มีการปรับปรุงกรอบบัญชียาสถานบริการอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี

ระยะหลังดำเนินงาน (3rdstage) กิจกรรม ระยะเวลา ตัวชี้วัด 7.ประเมินสถานการณ์คุณภาพระบบยาของสถานบริการด้วยแบบสำรวจ สถานการณ์คุณภาพระบบยาสำหรับเครือข่ายระดับจังหวัด (หลังดำเนินการ) สิงหาคม 2551 - เกิดเครือข่ายบริหารเวชภัณฑ์ระดับจังหวัด - สถานบริการทุกระดับมีบัญชียาตามกรอบบัญชียาจังหวัดสกลนคร - โรงพยาบาลชุมชนมีรายการยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - สถานีอนามัยและ PCU ทุกระดับมีรายการยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติทั้งหมด

งบประมาณ กิจกรรม ประชุม PTC จังหวัด สกลนคร 360,000 บาท( 18 รพ x 20,000 บาท) กิจกรรม ศึกษาดูงาน ประชุม PTC จังหวัด สกลนคร ประชุมชี้แจงแผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์ ปีงบประมาณ 2551 (ผู้บริหารสาธารณสุข ได้แก่ ผอ.โรงพยาบาล และ สสอ. ทุกแห่ง) ประชุมวิชาการเกี่ยวกับบัญชียาหลักแห่งชาติและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

ขอบคุณครับ..