แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ความปลอดภัยอาหาร Food Safety
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ร่าง ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ. ศ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2560 - 2564) สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

วิสัยทัศน์และเป้าหมาย บูรณาการการคุ้มครองผู้บริโภคของทุกภาคส่วน เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความเป็นธรรม สมดุล และยั่งยืน บูรณาการการคุ้มครองผู้บริโภคทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบมีมาตรฐาน การคุ้มครองผู้บริโภคภาพรวมมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาระบบและกลไกการคุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลในการคุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ 3 การพัฒนาองค์ความรู้ และการสื่อสารเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ 4 การสร้างและการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ 5 การส่งเสริมการบูรณาการการคุ้มครองผู้บริโภค

แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 กลยุทธ์ 1. การพัฒนาระบบและกลไกการคุ้มครองผู้บริโภค 1. พัฒนาระบบการป้องกัน ควบคุม กำกับดูแลสินค้าและบริการ ให้มีความปลอดภัย 2. พัฒนาระบบการเรียกคืนสินค้า การยกเลิกการสใช้ การชดเชย และเยียวยาความเสียหายให้กับผู้บริโภค 3. พัฒนานโยบาย และปรับปรุงมาตรการ มาตรฐาน และกฎหมาย ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 4. พัฒนามาตรการสนับสนุน และการบังคับใช้ต่าง ๆ ในการ ส่งเสริมการบริโภคอย่างยั่งยืน 5. ส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคม (Social Enterprise) 2. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลในการคุ้มครองผู้บริโภค 1. พัฒนาระบบรวบรวม และเชื่อมโยงข้อมุลการร้องเรียน และ สถานการณ์ปัญหาของผู้บริโภค 2. พัฒนาฐานข้อมูลเรื่องร้องเรียนสู่การดำเนินงานเพื่อป้องกันและ แก้ไขปัญหาของผู้บริโภค

แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 กลยุทธ์ 3. การพัฒนาองค์ความรู้ และการสื่อสารเพื่อการคุ้มครอง ผู้บริโภค 1. เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับ สถานการณ์การคุ้มครองผู้บริโภค 2. การให้ความรู้ผ่านช่องทาง และวิธีการที่หลากหลาย 3. การติดตามตรวจสอบ และสนับสนุนการทำงานของสื่อ 4. เสริมสร้างความรู้แก่ผู้บริโภค ในการบริโภคอย่างยั่งยืน 4. การสร้างและการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครอง การสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค 2. การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค 5. การส่งเสริมการบูรณาการการคุ้มครองผู้บริโภค 1. การส่งเสริม และสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมใน การคุ้มครองผู้บริโภค 2. ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายระหว่างกลุ่มผู้ผลิต ผู้บริโภค ภาครัฐ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างยั่งยืน

เป้าหมายและตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผู้บริโภคได้รับสินค้าและบริการที่มีมาตรฐาน และได้รับการชดเชยและเยียวยาในกรณีที่ได้รับความเสียหาย ร้อยละของผู้บริโภคที่ได้รับการชดเชย เยียวยา อัตราการลดลงของสินค้าและบริการที่ไม่ปลอดภัย นโยบาย กฎหมาย มาตรฐาน ระเบียบข้อบังคับ ในการคุ้มครองผู้บริโภคได้รับการทบทวน ปรับปรุง จำนวนกฎหมายมาตรฐาน มาตรการตลอดจนระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่ได้รับการพิจารณาและมีข้อสรุป

เป้าหมายและตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบฐานข้อมูลเรื่องร้องเรียนและสถานการณ์ปัญหาของผู้บริโภค ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภค ร้อยละของประชาชนที่เข้าถึงฐานข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภค การนำฐานข้อมูลเรื่องร้องเรียนและสถานการณ์ปัญหาไปใช้ในการกำหนดนโยบายมาตรการ กฎหมาย เพื่อป้องกันและการแก้ไขปัญหาของผู้บริโภค ความพึงพอใจของประชาชนต่อฐานข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภค ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อฐานข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภค

เป้าหมายและตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประชาชนมีความรู้ และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าหรือบริการ ระดับการรับรู้สื่อด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของประชาชน ระดับความรู้ความเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค

เป้าหมายและตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 4 เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้และทราบข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ร้อยละของจำนวนสมาชิกเครือข่ายที่มีความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นและสามารถแสดงศักยภาพในการดำเนินงานของเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคได้อย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละของจำนวนเครือข่ายที่มีผลการประเมินตนเองผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด

เป้าหมายและตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบูรณาการการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทั้งในส่วนของกลไกการทำงานฐานข้อมูล องค์ความรู้ และการสื่อสาร รวมทั้งเครือข่ายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมภายใต้แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ร้อยละของจำนวนกิจกรรมที่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน

ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองอย่างเป็นธรรม สมดุล ยั่งยืน งานคุ้มครองผู้บริโภคมีระบบ มาตรฐาน รวดเร็ว ต่อเนื่อง สร้างความเป็นธรรมแก่สังคม ทำให้สังคมมีคุณภาพ ครอบคลุมผู้บริโภคทุกกลุ่ม ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้บริโภคว่าจะได้รับการคุ้มครองตามสิทธิ

ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ สินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐาน หรือบริการที่ดี ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในการได้รับการคุ้มครองสิทธิ ผู้บริโภคมีความรู้ในการคุ้มครองตนเอง ผู้บริโภคสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากขึ้น

แนวทางการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ จังส่งแผนยุทธศาสตร์ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เผยแพร่ทางเว็บไซต์ www.ocpb.go.th สัมมนาถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผน คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล กลไกขับเคลื่อน ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ปรับแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การทบทวน ปรับปรุง

www.ocpb.go.th